นวัตกรรมการจัดการฟาร์มอัจฉริยะ
Innovation for Smart Farming Management
1. เข้าใจเกี่ยวกับไฟฟ้าเบื้องต้น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และดิจิตอล
2. เข้าใจการใช้เทคโนโลยีระบบฝังตัว อุปกรณ์รับรู้สภาพแวดล้อมทางการเกษตร และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
3. สามารถนำองค์ความรู้ด้านไฟฟ้าและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนานวัตกรรมฟาร์มอัจฉริยะทางการผลิตพืช ผลิตสัตว์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ อุตสาหกรรมการเกษตร
4. สามารถบริหารจัดการเทคโนโลยีฟาร์มที่เหมาะสม ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อม
2. เข้าใจการใช้เทคโนโลยีระบบฝังตัว อุปกรณ์รับรู้สภาพแวดล้อมทางการเกษตร และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
3. สามารถนำองค์ความรู้ด้านไฟฟ้าและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนานวัตกรรมฟาร์มอัจฉริยะทางการผลิตพืช ผลิตสัตว์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ อุตสาหกรรมการเกษตร
4. สามารถบริหารจัดการเทคโนโลยีฟาร์มที่เหมาะสม ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อม
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นทางไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และดิจิตอล เทคโนโลยีระบบฝังตัว อุปกรณ์รับรู้สภาพแวดล้อมทางการเกษตร เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาและ การประยุกต์ใช้นวัตกรรมฟาร์มอัจฉริยะทางการผลิตพืช ผลิตสัตว์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ อุตสาหกรรมการเกษตร และการบริหารจัดการเทคโนโลยีฟาร์มที่เหมาะสม ยั่งยืน และเป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อม
นักศึกษาสามารถนัดหมายอาจารย์เป็นรายบุคคล หรือเข้าพบอาจารย์ได้ ณ ห้องพักอาจารย์ที่อาจารย์ผู้สอนบทเรียนนั้น ๆ ประจำอยู่
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|