แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล

Database System Concepts

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ประโยชน์ของระบบของข้อมูล รูปแบบของ ระบบฐานข้อมูล สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล สามารถออกแบบระบบฐานข้อมูล โดยเป็นการออกแบบ ฐานข้อมูลเชิงแนวคิด การออกแบบฐานข้อมูลเชิงตรรกะ การออกแบบฐานข้อมูลเชิงกายภาพ ความรู้ความเข้าใจ ในรูปแบบของภาษาสืบค้น น าความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้งานกับระบบสารสนเทศในปัจจุบัน
ความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ประโยชน์ของระบบของข้อมูล รูปแบบของระบบฐานข้อมูล สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล วงจรการพัฒนาระบบฐานข้อมูล การออกแบบระบบฐานข้อมูล การนอร์มัลไลซ์ พจนานุกรมข้อมูล รีเลชันนัลแอลจีบรา การควบคุมสภาวะพร้อมกัน การค้นคืนข้อมูล
1 ชม/สัปดาห์
ีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ส อ ด แ ท ร ก คุ ณ ธ ร ร ม จริยธรรมระหว่างการสอน o ก าหนดเวลาในการเข้าชั้น เรียนและก าหนดเวลาใน การส่งงานที่แน่นอน o การมอบหมายงานกลุ่ม และหน้าที่ความรับผิดชอบ ให้แก่นักศึกษา o สอดแทรกการเคารพและ การรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อื่น o ชี้ แ จง ก ฎ ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ ข้อบังคับต่าง ๆ เมื่ออยู่ใน ห้องเรียน/มหาวิทยาลัย o สอดแทรกจรรยาบรรณทาง วิชาการและวิชาชีพ
สังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา และการ ท างานร่วมกัน o การตรงต่อเวลาของ นักศึกษาในการเข้าชั้น เรียน และการส่งงาน ตามก าหนด o พฤติกรรมที่แสดงออก แ ล ะ ง า น ที่ ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม า ย มี ก า ร คัดลอกหรือไม่ o ผ ล ก า ร น า เ ส น อ รายงานที่มอบหมาย
สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความ ต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
บ ร ร ย า ย เ นื้ อ ห าพ ร้ อ ม ยก ตั ว อ ย่ าง ก รณี ศึกษ า เ ส ริ ม ด้ ว ย ก า ร ส น ท น า โต้ตอบแลกเปลี่ยนความคิด แนวคิด o ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ แก้โจทย์ปัญหา o การท างานเป็นกลุ่มด้วยวิธี อภิปรายกลุ่มย่อย (Group Discussion) o น าเสนอผลการออกแบบ ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล จ า ก กรณีศึกษาหรือปัญหาที่ ก าหนด
ทดสอบย่อย o สอบกล างภ าคแล ะ สอบปล ายภาคด้ วย ข้อสอบปรนัย o ผลจากการแก้โจทย์ ปั ญ ห า โ ด ย ก า ร อ อ ก แ บ บ ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล จ า ก กรณีศึกษาหรือปัญหา ที่ก าหนด
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็น ปัญหาและความต้องการ
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหา ทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง กรณีศึกษาในการวิเคราะห์ ปัญหา . o มอบหมายให้นักศึกษาท า โครงงาน เพื่อน าระบบการ จัดการฐานข้อมูลเข้าไปใช้ ใ น ก า ร ท า ง า น ข อ ง ระบบงานที่ก าหนด
แบบฝึกหัด  ทดสอบกลางภาคและ ป ล า ย ภ า ค ที่ เ น้ น ห ลั ก ก า ร โ ด ย เ น้ น ข้ อ ส อ บ ที่ มี ก า ร วิเคราะห์ระบบและ การสร้างฐานข้อมูล o ประเมินผลจากการ น าเสนอผลการศึกษา ค้นคว้
4.1 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับ กลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกใน การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้น า หรือใน บทบาทของผู้ร่วมทีมท างาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้น าสังคมในประเด็นที่ เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการกระท าของตนเองและ รับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไข สถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่าง พอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายงานเป็นกลุ่ม ใน การน าเสนอรายงานและ วิเคราะห์กรณีศึกษา และ น าเสนอแนวคิดในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับ ปัญหาที่ก าหนด  ก าหนดให้นักศึกษาส่งงาน ตามระยะเวลาที่ก าหนด  การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ปฏิบัติการ (Participative learning action) o การคิดให้ความเห็นและ การรับฟังความเห็นแบบ สะท้อนกลับ (Reflective thinking)
ผล ก า ร เ รี ย น แ บ บ ร่วมมือ
ผ ล ก า ร น า เ ส น อ รายงานกลุ่ม
พฤติกรรมการท างาน เป็นกลุ่ม  รายงานกลุ่ม
พฤติกรรมในห้องเรียน เช่น การเข้าเรียน การ มีส่วนร่วมในห้องเรียน  ก าหนดการส่งงานของ นักศึกษา
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จ าเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อ การท างานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2 สามารถแนะน าประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้ สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อ ปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและ การเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการน าเสนอได้อย่าง เหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่าง เหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน elearning และท ารายงาน โดยเน้นการน าตัวเลข หรือ มี ส ถิ ติ อ้ า ง อิ ง จ า ก แ ห ล่ ง ที่ ม า ข้ อ มู ล ที่ น่าเชื่อถือ
มอบหม ายง านให้ส ร้ าง แ ผ น ภ า พ EntityRelationship โดยใช้ ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม
มอบหม ายโค รงง าน ให้ อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ส ร้ า ง ฐานข้อมูลโดยใช้ซอฟต์แวร์ ระบบจัดการฐานข้อมูลที่ เหมาะสม
คุณภาพของแผนภาพ Entity-Relationship ที่ ส ร้ า ง ขึ้ น จ า ก ซอฟต์แวร์
คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อง ระบบฐานข้อมูลที่สร้าง ขึ้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ส อ ด แ ท ร ก คุ ณ ธ ร ร ม จริยธรรมระหว่างการสอน ก าหนดเวลาในการเข้าชั้น เรียนและก าหนดเวลาใน การส่งงานที่แน่นอน การมอบหมายงานกลุ่ม และหน้าที่ความรับผิดชอบ ให้แก่นักศึกษา สอดแทรกการเคารพและ การรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อื่น ชี้ แ จง ก ฎ ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ ข้อบังคับต่าง ๆ เมื่ออยู่ใน ห้องเรียน/มหาวิทยาลัย สอดแทรกจรรยาบรรณทาง วิชาการและวิชาชีพ สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความ ต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง กรณีศึกษาในการวิเคราะห์ ปัญหา . มอบหมายให้นักศึกษาท า โครงงาน เพื่อน าระบบการ จัดการฐานข้อมูลเข้าไปใช้ ใ น ก า ร ท า ง า น ข อ ง ระบบงานที่ก าหนด มอบหมายงานเป็นกลุ่ม ใน การน าเสนอรายงานและ วิเคราะห์กรณีศึกษา และ น าเสนอแนวคิดในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับ ปัญหาที่ก าหนด ก าหนดให้นักศึกษาส่งงาน ตามระยะเวลาที่ก าหนด การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ปฏิบัติการ (Participative learning action) การคิดให้ความเห็นและ การรับฟังความเห็นแบบ สะท้อนกลับ (Reflective thinking) มอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน elearning และท ารายงาน โดยเน้นการน าตัวเลข หรือ มี ส ถิ ติ อ้ า ง อิ ง จ า ก แ ห ล่ ง ที่ ม า ข้ อ มู ล ที่ น่าเชื่อถือ มอบหม ายง านให้ส ร้ าง แ ผ น ภ า พ EntityRelationship โดยใช้ ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม มอบหม ายโค รงง าน ให้ อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ส ร้ า ง ฐานข้อมูลโดยใช้ซอฟต์แวร์ ระบบจัดการฐานข้อมูลที่ เหมาะสม
1 BBAIS910 แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 2.1-2.8, 3.1-3.4 (1) การสอบ o สอบย่อย o สอบกลางภาค o สอบปลายภาค ตลอดเทอม 8 17 10 20 30
2 1.2-1.5, 2.1-2.8, 3.3,5.3 (2) การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมอภิปรายและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดเทอม 10
3 1.2, 1.6, 2.2, 2.7-2.8,4.4, 4.6, 5.2, 5.4 (3) ค าถามทบทวนและวิเคราะห์กรณีศึกษา ตลอดเทอม 10
4 1.2, 2.1-2.8, 3.1-3.4,4.1- 4.6, 5.1-5.4 (4) ชิ้นงานและการน าเสนอ (กลุ่ม) ตลอดเทอม 20
ศิริลักษณ์ โรจนกิจอ านวย. ระบบฐานข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 3, โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2542.
สมจิตร อาจอินทร์ และงามนิจ อาจอินทร์. ระบบฐานข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 1, ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2540.
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. ระบบฐานข้อมูล (Database Systems). ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม, กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด ยูเคชั่น, 2551.