ระบบเกษตรและเทคโนโลยี
Agricultural System and Technology
ศึกษาความสำคัญของการเกษตรและแนวทางในการพัฒนา สถานการณ์และวิถีการผลิตทางการเกษตร มาตรฐานการผลิตทางการเกษตร การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทฤษฎีระบบเกษตร ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อระบบเกษตร การวิเคราะห์เชิงระบบทางการเกษตร การพัฒนากรอบและเครื่องมือช่วยแนวคิดและช่วยการวิเคราะห์ การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการเกษตร การพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง เกษตรอัจฉริยะ วิธีการเชิงระบบในการพัฒนาการเกษตร และระบบสารสนเทศเพื่อการเกษตร
เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของสปอว. และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ศึกษาความสำคัญของการเกษตรและแนวทางในการพัฒนา สถานการณ์และวิถีการผลิตทางการเกษตร มาตรฐานการผลิตทางการเกษตร การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทฤษฎีระบบเกษตร ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อระบบเกษตร การวิเคราะห์เชิงระบบทางการเกษตร การพัฒนากรอบและเครื่องมือช่วยแนวคิดและช่วยการวิเคราะห์ การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการเกษตร การพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง เกษตรอัจฉริยะ วิธีการเชิงระบบในการพัฒนาการเกษตร และระบบสารสนเทศเพื่อการเกษตร
3
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัยขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
3. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
4. สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
5. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
6. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
2. มีวินัยขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
3. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
4. สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
5. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
6. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1. ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรมการวิจัย
2. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในการวิจัย
3. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิจัย การมีวินัยเรื่องเวลา
4. เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
2. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในการวิจัย
3. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิจัย การมีวินัยเรื่องเวลา
4. เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1. การตรวจสอบการมีวินัยเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา
2. ตรวจสอบการมีจรรยาบรรณวิจัย เช่น การตรวจการอ้า่งอิง/การคัดลอกผลงานผู้อื่น
2. นักศึกษาประเมินตนเอง
2. ตรวจสอบการมีจรรยาบรรณวิจัย เช่น การตรวจการอ้า่งอิง/การคัดลอกผลงานผู้อื่น
2. นักศึกษาประเมินตนเอง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1.ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม
2. การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning)
3. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา และสื่อสารสนเทศ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคล และการนำเสนอตัวอย่างรายงานวิจัย
2. การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning)
3. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา และสื่อสารสนเทศ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคล และการนำเสนอตัวอย่างรายงานวิจัย
การนำเสนอตัวอย่างรายงานวิจัยที่สอดคล้องกับหัวข้อการศึกษาของนักศึกษา
3.1มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อปัญหาทั้งในและนอกชั้นเรียน
2. สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานการวิจัยในสถานการณ์จริง พัฒนา กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
3. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมความคิดในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากประเด็นปัญหาที่กำหนด
2. สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานการวิจัยในสถานการณ์จริง พัฒนา กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
3. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมความคิดในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากประเด็นปัญหาที่กำหนด
1. ประเมินจากการอธิบาย ตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็น เป็นรายบุคคล
2. รายงานความก้าวหน้าเล่มรายงานที่วิเคราะห์แบบกลุ่ม
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
2. รายงานความก้าวหน้าเล่มรายงานที่วิเคราะห์แบบกลุ่ม
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
3. การสอนแบบวิเคราะห์ร่วมโดยกลุ่ม
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
3. การสอนแบบวิเคราะห์ร่วมโดยกลุ่ม
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การนำเสนองานค้นคว้าทางวิชาการที่สอดคล้องกับหัวข้อที่กำลังศึกษา
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
2. การนำเสนองานค้นคว้าทางวิชาการที่สอดคล้องกับหัวข้อที่กำลังศึกษา
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
5.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ
5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ
5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
3. การสอนแบบรายงานเชิงวิเคราะห์ผลงานค้นคว้า
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
3. การสอนแบบรายงานเชิงวิเคราะห์ผลงานค้นคว้า
1. ความถูกต้องของผลการวิเคราะห์งานที่ค้นคว้า
2. การนำเสนอรายงานเชิงวิเคราะห์ของผลงานที่ นศ. ค้นคว้ามา ด้วยปากเปล่า
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
2. การนำเสนอรายงานเชิงวิเคราะห์ของผลงานที่ นศ. ค้นคว้ามา ด้วยปากเปล่า
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) | 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills) | |||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม | 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม | 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา | 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา | 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง | 2.4 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ | 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ | 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี | 4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง | 4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ | 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 5.1 มีทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ | 5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม | 5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล |
1 | MSCGT002 | ระบบเกษตรและเทคโนโลยี |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1 - 2.4, 3.1 - 3.2 | สอบกลางภาค และปลายภาค | 9 และ 17 | ร้อยละ 60 |
2 | 4.1 - 4.5 และ 5.1 - 5.4 | ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม ประเมินจากการนำเสนองาน | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 30 |
3 | 1.1 - 1.6 | 1. การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา 2. การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 20 |
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (มิถุนายน 2562).สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน, https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2020/20200331-In-Technology-Text%20-reprint-final.pdf
1. วารสารออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์จากฐานข้อมูล ScienceDirect Springerlink ที่เข้าถึงแบบ full paper
2. วารสารผลิตกรรมการเกษตร. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/japmju
2. วารสารผลิตกรรมการเกษตร. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/japmju
กรมวิชาการเกษตร. (1 มกราคม 2567). https://www.doa.go.th/th/
1.1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษา
3.2 จัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
3.2 จัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้
4.2 มีการบันทึกหลังการสอน
4.2 มีการบันทึกหลังการสอน
นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผล และพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป