สรีรวิทยาของพืช

Plant Physiology

1.1 เข้าใจเกี่ยวกับความหมายความสำคัญของสรีรวิทยาของพืช
1.2 เข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างน้ำกับพืช
1.3 เข้าใจเกี่ยวกับการลำเลียงน้ำของพืช
1.4 เข้าใจเกี่ยวกับสภาวะเครียดของพืชเนื่องจากน้ำ
1.5 เข้าใจเกี่ยวกับการสังเคาระห์แสงของพืช
1.6 เข้าใจเกี่ยวกับการหายใจของพืช
1.7 เข้าใจเกี่ยวกับการลำเลียงและถ่ายเทสารอาหารของพืช
1.8 เข้าใจเกี่ยวกับธาตุอาหารของพืช
1.9 เข้าใจเกี่ยวกับฮอร์โมนพืช
1.10 เข้าใจเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช
1.11 เข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดสรีรวิทยาต่อการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ
1.12 เข้าใจเกี่ยวกับบทบาทของเทคโนโลยีเกษตรดิจิทัลต่อภาคเกษตรและการศึกษาสรีระวิทยาพืช
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ทางสรีรวิทยา    ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำกับพืช  การลำเลียงน้ำของพืช  สภาวะเครียดของพืชเนื่องจากน้ำ การสังเคราะห์แสงของพืช การหายใจของพืช การลำเลียงและการถ่ายเทสารอาหารของพืช ธาตุอาหารพืช ฮอร์โมนพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช แนวคิดสรีรวิทยาต่อการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ และบทบาทของเทคโนโลยีเกษตรดิจิทัลต่อภาคเกษตรและการศึกษาสรีระวิทยาพืช
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล จัดตารางเวลาการเข้าพบเพื่อให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาเป็นเวลา 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์โดยมีการประกาศให้นักศึกษาทราบ และนักศึกษาสามารถเข้าพบเพื่อปรึกษาได้นอกช่วงตารางเวลาที่ประกาศตามความเหมาะสม 
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

 
 
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีที่สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน
2. มอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน เพื่อให้มีการฝึกฝนการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
1. เข้าเรียนตรงเวลา  ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด ไม่มีการทุจริตในการสอบ
2.ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
 
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและแนวทางปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  แก้ไข
1. มอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน ได้ทำการวิเคราะห์ สรุปเนื้อหา แลทำเพื่อให้มีการฝึกฝนการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานกลุ่มโดยให้ทำการค้นคว้าเนื้อหาที่ได้เรียนเพิ่มเติม 2. มีการทดสอบโดยให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดหลังจากเรียน และมีการสอบย่อยเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอ
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
1. ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา  2. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ  แก้ไข
วิเคราะห์กรณีศึกษา และการนำเสนอผลงาน
- การนำเสนอหน้าชั้นเรียน และการร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกันในห้องเรียน
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานเป็นกลุ่ม    ฝึกทักษะการเป็นผู้นำกลุ่ม และสมาชิกที่ดี ในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย - ให้มีการรายงานหน้าชั้นเรียนและเปิดโอกาสให้มีการถาม-ตอบ
1. ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม 
2. สังเกตุจากพฤติกรรมของนักศึกษา
1. ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร  2. ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
3. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
- มอบหมายงานการค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต รวมถึงการส่งงาน ติดต่อการเรียนการสอน ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์  
- ตรวจงานที่มอบหมาย รวมไปถึงการสังเกตพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์เพื่อการค้นคว้าข้อมูล
- มีทักษะปฏิบัติและสามารถแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานตามสภาพจริง
- ปฏิบัติการในห้องทดลอง ปฏิบัติในแปลงปลูก โดยให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะด้านการปฏิบัติ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะต่างๆ  ทั้งด้วยตนเองและร่วมกับผู้อื่น  การวิเคราะห์ปัญหาจริงในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาใน การปฏิบัติการในแปลงปลูกและในห้องทดลอง
- สังเกตพฤติกรรม มอบหมายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 2 1
1 BSCAG105 สรีรวิทยาของพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติการ 9 17 ระหว่างเรียน ระหว่างเรียน 25% 25% 10%
2 รายงาน งานค้นคว้า และนำเสนอในห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 การเข้าชั้นเรียน เจรคติ ความรับผิดชอบ 1-8 และ 10-16 5%
4 การเขียนรายงานตามบทปฏิบัติการที่ได้รับมอบหมาย 1-8 และ 10-16 25%
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย ฯลฯ
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ  แก้ไข
-