การจัดการธุรกิจเพื่อสังคม
Social Business Management
เพื่อให้ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมถึงมีทักษะเบื้องต้นในการเป็นผู้ประกอบการทางสังคม โดยเน้นการเรียนรู้ผ่านการทดลองปฏิบัติจริง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ แนวคิด ทฤษฎีและหลักการในการพัฒนาบุคลิกภาพทางกาย อารมณ์ จิตใจ ภาวะผู้นำทางธุรกิจ การตัดสินใจทางธุรกิจ การจูงใจ การเจรจาต่อรอง มารยาทการเข้าสังคม เพื่อให้เป็นผู้มีบุคลิกภาพที่ดี สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้ การศึกษาหลักธรรมในทางศาสนาและจิตให้มีการฝึกปฏิบัติ
ศึกษาเรียนรู้ถึงแนวความคิด การพัฒนาแนวคิดและกระบวนการบริหารจัดการขององค์กรธุรกิจ เพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมในประเทศและต่างประเทศ ศึกษาและวิพากษ์ผลกระทบและปัญหาของกลไกธุรกิจ ข้ามชาติที่สร้างปัญหาต่อสังคม วัฒนธรรม ชุมชน ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมที่นําไปสู่การสนับสนุนและ ส่งเสริมธุรกิจภาคเอกชน ให้มีส่วนร่วมในการรับผิดชอบสังคมและสิ่งแวดล้อม
หลังการเรียนการสอนในคาบเรียน นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตลอด 45 สัปดาห์
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา มีความกล้าหาญบน ฐานคุณธรรมในการ ดํารงชีวิต มีความซื่อสัตย์ สุจริต และมี จรรยาบรรณทางวิชาการ
- สอดแทรกเนื้อหาในมิติทางคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการใน การเรียนการสอนทุกรายวิชา - ใช้กรณีศึกษา และมอบหมายงานให้นิสิต ฝึกโดยนําหลักธรรมมาใช้ในการแก้ปัญหา ชีวิต
- มีกิจกรรมนอกหลักสูตรที่ส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรมอย่างต่อเนื่อง
- ประเมินพฤติกรรมความซื่อสัตย์ในการทํา รายงาน การอ้างอิงผลงาน และการสอบ - ประเมินจากคุณภาพงานที่ได้รับ มอบหมาย ที่แสดงถึงการคิด วิเคราะห์ และการเลือกใช้หลักธรรมที่เหมาะสมใน การแก้ปัญหาต่างๆและการพฒั นาตนเอง
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมของนิสิตใน กิจกรรมนอกหลักสูตรที่จัดขึ้น และความ กล้าหาญในการเป็นผู้นําทําความดี
เข้าใจถึงความหมายที่แท้จริงของธุรกิจเพื่อสังคมและ
มีต่อยอดภูมิปัญญา ท้องถิ่น
- จัดหลักสูตรให้มีรายวิชาที่ครอบคลุม ความรู้ที่จะต่อยอดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น และการใช้ประโยชน์จากวัสดุที่มีในท้องถิ่น - ให้นิสิตทํากิจกรรมทั้งในเชิงวิชาการและ ปฏิบัติ ทั้งในและนอกหลักสูตรอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ การใช้ประโยชน์จากวัสดุทมี่ ีในท้องถิ่น หรือ การเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบและสินค้าในท้องถิ่น
ประเมินจากคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย ที่แสดงถึงความรู้ในภูมิปัญญาท้องถิ่น ประโยชน์จากวัสดุที่มีในท้องถิ่น และการ พัฒนาต่อยอดด้วยศาสตร์และศิลป์อย่าง บูรณาการ ทั้งเพื่อเพิ่มมูลค่า และให้ได้ มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ
นักศึกษาสามารถนํา คุณธรรม และปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ได้อย่าง เป็นรูปธรรมใน ชีวิตประจําวัน และ สร้างสรรค์สังคม
-ใช้กรณีศึกษาและบุคคลต้นแบบ ให้นิสิต ได้เรียนรู้การนําคุณธรรมและปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ได้อย่าง เป็นรูปธรรมในชีวิตประจําวัน และ สร้างสรรค์สังคม
- ให้นักศึกษาเขียนโครงการ และจัดกิจกรรมที่ จะนําคุณธรรมและปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรมใน ชีวิตประจําวันและสรา้งสรรค์สังคม
- ประเมินจากคุณภาพงานที่ได้รับ มอบหมาย ที่แสดงถึงการนําคุณธรรมและ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ได้อย่างเป็นเหมาะสมใน ชีวิตประจําวัน และสร้างสรรค์สังคม - สังเกตพัฒนาการในด้านต่างๆจาก พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม และการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
มีความรักชุมชน รัก สันติ รักองค์กร มี ความสัมพันธ์ในองค์กร เป็นแบบกัลยาณมิตร มี ความมุ่งมั่นในการ ทํางาน เห็นแก่ประโยชน์ องค์กรและส่วนรวม
- สอดแทรกในการเรียนการสอนทุกวิชา ให้ ละทิ้งการแก่งแย่งฟาดฟันเห็นแก่ตัว แต่ สร้างเสริมความรักชุมชน รักสันติ รักองค์กร เพื่อสร้างความสัมพันธ์ในองค์กรเป็นแบบ กัลยาณมิตรที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
- จัดกิจกรรมให้นิสิตได้ฝึกความมุ่งมั่นใน การทํางาน เพื่อเห็นแก่ประโยชน์องค์กร และส่วนรวม ด้วยกระบวนการที่เกิดการ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
- จัดกิจกรรมให้นิสิตได้แลกเปลี่ยนความ คิดเห็น ในเชิงบวก และการยกย่องชมเชย ผู้อื่นในชุมชนและองค์กร
- ทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการวิเคราะห์สถานการณ์จริงขององค์กรธุรกิจ
- สังเกตพฤติกรรมในการแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น การวิพากษ์วิจารณ์ และการ ยอมรับเหตุผลของผู้ที่มีความคิดเห็น แตกต่าง
- สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมการ ช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่นในการทํากิจกรรม กลุ่ม กิจกรรมสาธารณะ และการทํา รายงาน
มีทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลข
- มีรายวิชาที่มีองค์ประกอบในการฝึก ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข เช่น การ วิจัยเชิงปริมาณ ธุรกิจขนาดย่อมและ สัมมาชีพชุมชน
- สอดแทรกทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ในรายวิชาต่างๆ เพื่อพัฒนาทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลขอย่างต่อเนื่อง
- สอดแทรกทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ในรายวิชาต่างๆ เพื่อพัฒนาทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลขอย่างต่อเนื่อง
การสอบภาคทฤษฎี/ปฏิบัติ
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
1. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
1. พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษา มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1-1.7 | แบบฝึกหัด | 1-7 | 10 |
2 | 1.1-1.7 | สอบกลางภาค | 8 | 20 |
3 | 1.9-1.16 | แบบฝึกหัด | 1.9-1.16 | 10 |
4 | 1.9-1.16 | สอบปลายภาค | 17 | 20 |
5 | 1.1-1.16 | งานกลุ่ม | 1.1-1.16 | 30 |
6 | 1.1-1.16 | จิตพิสัย | ตลอดภาคเรียน | 10 |
สำนักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ (สกส.). (2563). SE Catalog รวมกิจการเพื่อสังคมในไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนบัสนุนการสรา้งเสริมสุขภาพ (สสส.).
อำพล ชะโยมชัย (2560). ลักษณะความเป็นผู้ประกอบการทางสังคมขององค์กรและนวัตกรรมเชิงสังคมที่มีต่อ ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจขององค์กรธุรกิจในประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 31(99), 188-205
อำพล ชะโยมชัย (2560). ลักษณะความเป็นผู้ประกอบการทางสังคมขององค์กรและนวัตกรรมเชิงสังคมที่มีต่อ ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจขององค์กรธุรกิจในประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 31(99), 188-205
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาหลักการบริหารที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวความคิดและข้อแสดงความคิดเห็นของนักศึกษา ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
ผลการเรียนของนักศึกษา
การทบทวนผลการประเมินการเรียนรู้
ผลการเรียนของนักศึกษา
การทบทวนผลการประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการปรับปรุงการสอนโดยการสังเกตุและแบบทดสอบก่อนและหลังการเรียน รวมถึงการมอบหมายงานกลุ่มและเดี่ยว
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ