จรรยาบรรณและกฎหมายเกี่ยวข้องกับปศุสัตว์
Ethics and Livestock Laws
1.1. รู้เกี่ยวกับกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์
1.2. รู้เกี่ยวกับระเบียบและเทศบัญญัติต่างๆที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์
1.3. สามารถวิเคราะห์และนำพระราชบัญญัติ ระเบียบและเทศบัญญัติมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2. รู้เกี่ยวกับระเบียบและเทศบัญญัติต่างๆที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์
1.3. สามารถวิเคราะห์และนำพระราชบัญญัติ ระเบียบและเทศบัญญัติมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้ฐานด้านกฏหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานภายหลังจากจบการศึกษาได้
ศึกษาเกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่และบทบาทของนักสัตวบาลที่พึงมีในการปฏิบัติงาน พระราชบัญญัติบำรุงพันธุ์สัตว์ พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พระราชบัญญัติการฆ่าและจำหน่ายเนื้อสัตว์ พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พระราชบัญญัติยา พระราชบัญญัติการพนัน พระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมสัตว์ พระราชบัญญัติ เทศบัญญัติและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์
3 ชั่วโมง
ให้นักศึกษาตระหนัก และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้มอบหมายทั้งของตนเอง และผลงานของกลุ่มที่ได้รับมอบหมายมีวินัยต่อการเรียน ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่ให้กำหนด เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่ม และนอกกลุ่ม
-ใช้การสอนแบบ Active Learning เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถาม หรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีกิจกรรม นักศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
- ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
- เพิ่มการสอนนอกชั้นเรียนโดยให้ศึกษาจากประสบการณ์จริง ในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ และหาข้อมูลเชิงประจักษ์ของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ที่ได้พบ รวมทั้งการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์อย่างมีจรรยาบรรณ และถูกต้องตามความเหมาะสมบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
- ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
- เพิ่มการสอนนอกชั้นเรียนโดยให้ศึกษาจากประสบการณ์จริง ในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ และหาข้อมูลเชิงประจักษ์ของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ที่ได้พบ รวมทั้งการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์อย่างมีจรรยาบรรณ และถูกต้องตามความเหมาะสมบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในสถานการณ์ที่สาขาวิชาฯ และคณะ จัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลา และการเคารพการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น การเคารพผู้อาวุโส และอาจารย์ โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุ่ม
รู้ และเข้าใจความหมายเพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์พระราชบัญญัติและเทศบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงสัตว์ การฆ่า การจัดจำหน่ายเนื้อสัตว์ การเคลื่อนย้ายสัตว์ การส่งออกและการนำเข้าประเทศ
การสอนที่เน้นผู้เรียป็การสอนสำคัญ ได้แก่ การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การสอนแบบคิดวิเคราะห์ (Critical thinking) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนบรรยายแบบ Active Learning เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง หรือกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น รวมทั้ง การสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์พระราชบัญญัติและเทศบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงสัตว์ การฆ่า การจัดจำหน่ายเนื้อสัตว์ การเคลื่อนย้ายสัตว์ การส่งออกและการนำเข้าประเทศ เป็นต้น ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์ และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อ หรือบทเรียน
ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน และการสอบวัดความรู้ โดยมีการสอบย่อย (Quiz) และ สอบเป็นทางการ 2 ครั้ง (สอบกลางภาค และสอบปลายภาค)
ทำรายงานรายบุคคล และหรือรายงานกลุ่ม เพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
การทำรายงานกรณีศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์และนำเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นกลุ่ม
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
ทักษะการคิดวิเคราะห์ การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาที่ทราบในชั้นเรียน หรืองานที่มอบหมายให้ค้นหาคำตอบ เพื่อให้ได้แนวทางในการแก้ปัญหานั้นๆ
3.2 วิธีการสอน
ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหา หรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้
3.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน การสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค การนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคล และกลุ่ม
ทักษะการคิดวิเคราะห์ การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาที่ทราบในชั้นเรียน หรืองานที่มอบหมายให้ค้นหาคำตอบ เพื่อให้ได้แนวทางในการแก้ปัญหานั้นๆ
3.2 วิธีการสอน
ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหา หรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้
3.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน การสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค การนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคล และกลุ่ม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
เน้นการทำงานเป็นทีม โดยมีการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งจะต้องช่วยเหลือแบ่งงานย่อยโดยมอบหมายให้ช่วยกันค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อใช้เขียนรายงาน และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา กรณีศึกษาในชั้นเรียน
4.2 วิธีการสอน
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน และเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
เน้นการทำงานเป็นทีม โดยมีการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งจะต้องช่วยเหลือแบ่งงานย่อยโดยมอบหมายให้ช่วยกันค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อใช้เขียนรายงาน และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา กรณีศึกษาในชั้นเรียน
4.2 วิธีการสอน
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน และเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน และเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
เน้นการทำงานเป็นทีม โดยมีการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งจะต้องช่วยเหลือแบ่งงานย่อยโดยมอบหมายให้ช่วยกันค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อใช้เขียนรายงาน และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา กรณีศึกษาในชั้นเรียน
4.2 วิธีการสอน
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
เน้นการทำงานเป็นทีม โดยมีการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งจะต้องช่วยเหลือแบ่งงานย่อยโดยมอบหมายให้ช่วยกันค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อใช้เขียนรายงาน และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา กรณีศึกษาในชั้นเรียน
4.2 วิธีการสอน
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.2 วิธีการสอน
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน และเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
- การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น แผ่น CD ที่บรรจุหน่วยเรียน - การนำเสนอข้อมูลของงานที่มอบหมายให้เข้าใจง่าย ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ในการทำงาน - การใช้ Power point ในการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุ่มรวมทั้ง การนำเสนอโครงการที่เสร็จสิ้น - การคำนวณในหน่วยเรียน
- การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น แผ่น CD ที่บรรจุหน่วยเรียน - การนำเสนอข้อมูลของงานที่มอบหมายให้เข้าใจง่าย ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ในการทำงาน - การใช้ Power point ในการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุ่มรวมทั้ง การนำเสนอโครงการที่เสร็จสิ้น - การคำนวณในหน่วยเรียน
การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลรวมทั้งการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การนำเสนอโดยใช้แผ่นใส ตำรา PowerPoint ประกอบการสอนในชั้นเรียน การเลือกวิธีการนำเสนอที่เข้าใจง่าย อย่างเป็นระบบ หลักการคำนวณในหน่วยเรียน
ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน และเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
ให้นักศึกษาตระหนัก และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้มอบหมายทั้งของตนเอง และผลงานของกลุ่มที่ได้รับมอบหมายมีวินัยต่อการเรียน ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่ม และนอกกลุ่ม
ให้นักศึกษาตระหนัก และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้มอบหมายทั้งของตนเอง และผลงานของกลุ่มที่ได้รับมอบหมายมีวินัยต่อการเรียน ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่ม และนอกกลุ่ม
-ใช้การสอนแบบ Active Learning เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถาม หรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีกิจกรรม นักศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
- ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
- เพิ่มการสอนนอกชั้นเรียนโดยให้ศึกษาจากประสบการณ์จริง ในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ และหาข้อมูลเชิงประจักษ์ของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ที่ได้พบ รวมทั้งการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์อย่างมีจรรยาบรรณ และถูกต้องตามความเหมาะสมบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในสถานการณ์ที่สาขาวิชาฯ และคณะ จัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลา และการเคารพการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น การเคารพผู้อาวุโส และอาจารย์ โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ทักษะการเรียนรู้ | ทักษะทางปัญญา | คุณธรรม จริยธรรม | ความรับผิดชอบ | ||
---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | บรรยาย | บรรยาย | มอบหมายงาน | มอบหมายงาน |
1 | BSCAG256 | จรรยาบรรณและกฎหมายเกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | รายงาน | ทำรายงาน | 1-17 | 20 |
2 | จิตพิสัย | สังเกตพฤติกรรมเข้าชั้นเรียน | 1-17 | 10 |
3 | สอบกลางภาคการศึกษา | สอบข้อเขียน | 9 | 35 |
4 | สอบปลายภาคการศึกษา | สอบบรรยาย | 17 | 35 |
1.คณะวิชาการ. 2550.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550.บริษัทพีรภาส จำกัด กรุงเทพมหานคร
2. คณะวิชาการ.2551.ประมวลกฎหมายอาญา(ฉบับปัจจุบัน).บริษัทพีรภาสจำกัด กรุงเทพมหานคร
3. คณะวิชาการ.2551.ประมวลกฎหมายแพ่งและพานิชย์(ฉบับปัจจุบัน).บริษัทพีรภาสจำกัด กรุงเทพมหานคร
4. ชุมพล ต่อบุญ.2551.กฏหมายเกี่ยวกับปศุสัตว์.โรงพิมพ์ โอ.เอส.พริ้นติ้ง.เฮาส์ กรุงเทพมหานคร 400 หน้า
5. เชื้อ ว่องส่งสาร, สมบูรณ์ สุธีรัตน์. 2526. ประมวลวิชาการสัตวแพทย์. โรงพิมพ์บัณฑิตการพิมพ์, กรุงเทพฯ.451 หน้า.
6. พีระพล อยู่สวัสดิ์.2546 กฎหมายเกี่ยวกับยาและอาหารสัตว์.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 200 หน้า
7. ปรารถนา พฤกษะศรี และคณะ. 2530. กฏหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 177 หน้า.
8. หยุด แสงอุทัย.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 16บริษัทประกายพรึก กรุงเทพมหานคร
9. สมคิด บางโม.2546 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป.บริษัท ยู แอนด์ ไอ กรุงเทพมหานคร
10. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฏีการ.(มกราคม2558).www.krisdika.go.th
11. อุทิศ มุสิโก. 2528. คู่มือสัตวแพทย์ เล่ม 1. กองควบคุมโรคระบาด กรมปศุสัตว์. 418 หน้า.
หนังสือและตำราที่กำหนด ตามข้อ 6.1
เวปไซด์สำนักงานกฤษฏีกา เวปไซด์กรมปศุสัตว์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ให้นักศึกษาทุกคนทำการประเมินการสอนของอาจารย์และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
จากการเปรียบเทียบผลการทดสอบตามบทเรียนก่อนและหลังจากอ่านบทเรียนครบทุกส่วนแล้ว
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนกลยุทธ์การสอนทุกภาคการศึกษา มีการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนใหม่ๆ ทุกปี อาจารย์ประชุมปรึกษาปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
แผนกวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนทั้งคะแนนดิบและระดับขั้นคะแนนโดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้สอนภาคทฤษฎี เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอน และกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมในสาขาวิชาสัตวศาสตร์เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป