เทคโนโลยีการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรมพลังงาน

Industrial Energy Crops Production Technology

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญของพืชไร่อุตสาหกรรมพลังงานที่สำคัญ เช่น อ้อย มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน ฯลฯ การปลูก สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการผลิต เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวและการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิต นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม
- เพิ่มเติมเนื้อหาเกี่ยวกับการผลิตพืชพลังงานและการใช้ประโยชน์เชิงพลังงานทดแทนในปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญของพืชไร่อุตสาหกรรมพลังงานที่สำคัญ เช่น อ้อย มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน ฯลฯ การปลูก สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการผลิต เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวและการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิต นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรม
3.1 จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล โดยนักศึกษาสามารถเข้าพบอาจารย์ผู้สอนเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำได้ทุกวันพุธ เวลา 14.00 - 17.00 น.
3.2 นักศึกษาขอคำปรึกษาและคำแนะนำได้ทาง Line:agribiolab2011 E-mail:manoch1989@rmutl.ac.th เบอร์โทร 089-8350812
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
กําหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงต่อเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ เป็นต้น มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
ร้อยละ 80 ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงต่อเวลา ร้อยละ 80 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกําหนด ไม่มีการฑุจริตในการสอบ
- มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ  ที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการ ทฤษฎี และการ ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง - มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
- ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ ทั้งหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี เรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยเน้นการสอนที่ตั้งคำถาม มีการอภิปรายกลุ่ม บรรยายเชิงปฏิบัติการ รวมทั้งการกำหนดให้หาความรู้เพิ่มเติมและทำรายงานส่ง - เพิ่มการสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริง และฝึกปฏิบัติการในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ
- สอบกลางภาค และสอบปลายภาค - ทำรายงานรายบุคคล  และรายกลุ่มพร้อมการนำเสนอ - การทำรายงานผลการปฏิบัติงานตามคู่มือบทปฏิบัติการ
- มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม - ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ - แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถ นำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
- ภาคบรรยายกําหนดหัวข้อให้นักศึกษา ฝึกวิเคราะห์ปัญหา โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่างๆ รวมทั้งการค้นคว้าจากฐาน ข้อมูล แล้วนํามาอภิปรายในห้องเรียน -  ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
- ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม - รายงานกลุ่ม และรายงานบุคคล
- มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายบุคคลและงานกลุ่ม - สามารถปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ - วางตัวและร่วมแสดงความคิดเห็นในกลุ่มได้อย่างเหมาะสม
- จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและ บุคคลภายนอก - มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด - กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา - ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ - ให้นักศึกษาประเมินนักศึกษาอื่นๆในรายวิชา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
- ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ใน การอ่าน พูด ฟัง และเขียน - การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง/สถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ - การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมทั้งการจัดทำรายงานและนำเสนอ
- ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน - ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน - ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 1 3 1 2 2
1 BSCAG144 เทคโนโลยีการผลิตพืชไร่อุตสาหกรรมพลังงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ สอบกลางภาคการศึกษา (ทฤษฎี) 9 20
2 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ สอบปลายภาคการศึกษา (ทฤษฎี) 18 20
3 มีความรับผิดชอบต่อบทบาททั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม การเข้าห้องเรียนและสังเกตการแสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 10
4 ทดสอบย่อยและปฏิบัติ ทดสอบย่อยและปฏิบัติ ตลอดภาคการศึกษา 40
5 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการสืบค้นข้อมูล การสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน 17 10
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ  แก้ไข
-