การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก
Small Ruminant Production
1.1 ความสำคัญของเคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก(แพะ-แกะ) 1.2 พันธุ์และการคัดเลือกพันธุ์ 1.3 กายวิภาคและสรีรวิทยา 1.4 อาหารและการให้อาหาร 1.5 มาตรฐานฟาร์ม 1.6 การจัดการฟาร์ม 1.7 การสุขาภิบาลและการป้องกันโรค 1.8 การผสมเทียมแพะ-แกะ 1.9 ผลิตภัณฑ์จากสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก 1.10 ธุรกิจและการตลาดสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก
เพื่อให้รายวิชามีความสมบูรณ์และสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญของการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก พันธุ์และการคัดเลือกพันธุ์ กายวิภาคและสรีรวิทยา อาหารและการให้อาหาร มาตรฐานฟาร์ม การจัดการของเสีย การสุขาภิบาลและการป้องกันโรค การผสมเทียม ผลิตภัณฑ์จากสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก ธุรกิจและการตลาดสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก
2
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การสังเกต 3.การสัมภาษณ์ 4.การนำเสนองาน 5.การประเมินตนเอง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.ข้อสอบอัตนัย
8. ข้อสอบปรนัย
9.การประเมินตนเอง
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) 4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การเขียนบันทึก 3.โครงการกลุ่ม 4.การสังเกต 5.การสัมภาษณ์ 6.การนำเสนองาน 7.ข้อสอบอัตนัย 8. ข้อสอบปรนัย 9.การประเมินตนเอง
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) 4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming) 6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) 7. การสอนแบบบรรยาย 8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การเขียนบันทึก 3.โครงการกลุ่ม 4.การสังเกต 5.การสัมภาษณ์ 6.การนำเสนองาน 7.การประเมินตนเอง
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การนำเสนองาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) | 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) | 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology | ||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม | 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม | 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา | 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา | 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ | 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ | 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี | 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม | 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม | 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม | 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
1 | BSCAG225 | การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | หน่วยที่ 1-5 | สอบกลางภาค | 9 | 30% |
2 | หน่วยที่ 1-10 | การทดสอบภาคปฏิบัติการ แบบฝึกหัด | 1-17 | 40% |
3 | หน่วยเรียน 6-10 | สอบปลายภาค | 18 | 30% |
Bearden, H. J. and J. W. Fuquay. 1999. Applied Animal Reproduction. 5th ed. Prentic-Hall, Inc. New Jersey. ศรีสุวรรณ ชมชัย. 2531. คู่มือปฏิบัติการผสมเทียมในสุกร. เรียบเรียงครั้งที่ 2, ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมการ เลี้ยงสุกรแห่งชาติ, นครปฐม. 234 น. สุณีรัตน์ เอี่ยมละมัย. 2553. การสืบพันธุ์ในโค. ภาควิชาศัลยศาสตร์และวิทยาการสิบพันธุ์คณะสัตว แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สุรชัย ชาครียรัตน์. 2545. การสืบพันธุ์และการผสมเทียมโค-กระบือ. สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 439 น.
ข้อมูลออนไลน์ต่าง ๆ อาทิเช่น เอกสารเผยแพร่ของกรมปศุสัตว์ เป็นต้น
ข้อมูลออนไลน์ต่าง ๆ ทางการวิจัยเช่น Journal of Animal Science เป็นต้น
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษา ดำเนินการดังนี้ - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย - การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - ผลการประเมิน - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 1 และ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนโดยอาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน ดังนี้ - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน หรือการวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างการจัดการเรียนการสอน จะมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เป็นระยะๆ จากการสอบถามนักศึกษา การทดสอบต่าง ๆ รวมถึงพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงาน และส่งงานตามกำหนด
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 - ขอคำแนะนำจากผู้มีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้อง