เตาและการเผา
Kiln and Firing
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติและวิวัฒนาการของเตาเผาเซรามิก
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างของเตาเผาเซรามิก
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจำแนกชนิดของเตาเผาเซรามิก
4. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบและก่อสร้างเตาเผาเซรามิก
5. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเผาผลิตภัณฑ์เซรามิก
6. มีเจตคติที่ดีต่อวิชาเตาและการเผา รู้สึกยอมรับและคล้อยตาม กับพัฒนาการของเตาเผาจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และมีอารมณ์สุนทรีต่อผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการเผา
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างของเตาเผาเซรามิก
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจำแนกชนิดของเตาเผาเซรามิก
4. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบและก่อสร้างเตาเผาเซรามิก
5. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเผาผลิตภัณฑ์เซรามิก
6. มีเจตคติที่ดีต่อวิชาเตาและการเผา รู้สึกยอมรับและคล้อยตาม กับพัฒนาการของเตาเผาจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และมีอารมณ์สุนทรีต่อผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการเผา
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติและวิวัฒนาการของเตาเผาเซรามิก
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างของเตาเผาเซรามิก
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจำแนกชนิดของเตาเผาเซรามิก
4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบและก่อสร้างเตาเผาเซรามิก
5. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเผาผลิตภัณฑ์เซรามิก
6. เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อวิชาเตาและการเผา รู้สึกยอมรับและคล้อยตาม กับพัฒนาการของเตาเผาจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และมีอารมณ์สุนทรีต่อผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการเผา
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างของเตาเผาเซรามิก
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจำแนกชนิดของเตาเผาเซรามิก
4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบและก่อสร้างเตาเผาเซรามิก
5. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเผาผลิตภัณฑ์เซรามิก
6. เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อวิชาเตาและการเผา รู้สึกยอมรับและคล้อยตาม กับพัฒนาการของเตาเผาจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และมีอารมณ์สุนทรีต่อผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการเผา
ศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของเตาเผาเซรามิก โครงสร้างของเตาเผาเซรามิก การจำแนกชนิดของเตาเผาเซรามิก การออกแบบและก่อสร้างเตาเผาเซรามิก การเผาผลิตภัณฑ์เซรามิก
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การใช้ Wed-board การขายของผ่านอินเตอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง
2. อภิปรายกลุ่ม
3. กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาและมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
2. อภิปรายกลุ่ม
3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2. นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะปฏิบัติการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์พื้นฐานรวมถึงเทคโนโลยีเพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
6.1.2 มีทักษะในการบริหารจัดการการวางแผนการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งการปรับปรุงพัฒนาระบบการทำงานอย่างต่อเนื่อง
6.1.3 สามารถบูรณาการการเรียนรู้ร่วมกับการทำงาน
6.1.4 สามารถปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ
ใช้วิธีสอนด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา และโครงงาน สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานที่ได้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ||
---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
1 | BTECE229 | เตาและการเผา |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1-5.3 | การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคเรียนการศึกษา | 50% |
2 | 1-3.2 | สอบกลางภาค | 9 | 20 % |
3 | 1-5.3 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
4 | 3.2-5.3 | สอบปลายภาค | 17 | 20 % |
1. ทวี พรหมพฤกษ์. เครื่องปั้นดินเผาเบื้องต้น. กรุงเทพ : โอเดียนสโตร์, 2523.
2.ทวี พรหมพฤกษ์. เตาและการเผา. กรุงเทพ : หน่วยการศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู, 2525.
3. ปรีดา พิมพ์ขาวขำ. เซรามิกส์. กรุงเทพ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527.
4. ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีเซรามิก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เตาเผาเครื่องปั้นดินเผาประสิทธิภาพสูง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2537.
5. สุรศักดิ์ โกสิยพันธ์. วัสดุศาสตร์. กรุงเทพ : วิทยาลัยครูพระนคร, 2525.