การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
Sustainable Tourism Development
1. เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ มีบุคลิกภาพและทักษะในวิชาชีพสามารถ ปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยว และงานบริการบนพื้นฐานของความเป็นไทย 2. เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวที่สามารถตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นและของประเทศ 3. เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมระเบียบวินัย ความซื่อสัตย์ มีใจรักงาน และสำนึกในจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบต่อสังคม ตระหนักในหน้าที่ที่จะต้องดำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรการท่องเที่ยว ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีอันดีงามของไทย
1.เพื่อให้นักศึกษาตระหนักและเข้าใจถึงความหมาย ความสำคัญของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในส่วนของลักษณะความเป็นมา แนวคิด องค์ประกอบ ความสำคัญของการพัฒนาและการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อความยั่งยืน 3.เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นไปได้ กำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว ประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวในการพัฒนา แนวทางการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของไทยให้อยู่กับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ความหมาย ความเป็นมา หลักการและแนวคิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน องค์ประกอบในการพัฒนาการท่องเที่ยว นโยบายและแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนระดับชาติและระดับนานาชาติ รูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนการประเมินขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเชิงพื้นที่และสำหรับชุมชนการประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและวิธีการและเทคนิค การวางแผนพัฒนาและการจัดการแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนระดับท้องถิ่น ชาติ และนานาชาติ
3 ชั่วโมงโดยระบุวัน เวลาไว้ในประมวลการสอน และแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดีและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนามีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดีและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนามีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2 วิธีการสอน
1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดีและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนามีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดีและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนามีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา 1.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผลถูกต้อง เหมาะสม และสร้างสรรค์ 1.3.3 ประเมินผลการนำเสนอกรณีศึกษาที่มอบหมาย
1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา 1.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผลถูกต้อง เหมาะสม และสร้างสรรค์ 1.3.3 ประเมินผลการนำเสนอกรณีศึกษาที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.3 มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.3 มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ
2.2 วิธีการสอน
2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง 2.2.2 อภิปรายหลังการทำกิจกรรม เกม หรือสถานการณ์จำลอง 2.2.3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า 2.2.4 การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีต่างๆ ที่เรียน 2.2.5 การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – based Learning)
2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง 2.2.2 อภิปรายหลังการทำกิจกรรม เกม หรือสถานการณ์จำลอง 2.2.3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า 2.2.4 การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีต่างๆ ที่เรียน 2.2.5 การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – based Learning)
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาค 2.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
2.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาค 2.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึก ประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล
3.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึก ประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล
3.2 วิธีการสอน
3.2.1 ร่วมกิจกรรม เกม บทบาทสมมุติแล้วอภิปรายกลุ่ม พร้อมกับรายงานทั้งด้านวาจาและการเขียน และมีการทัศนศึกษานอกสถานที่ 3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.1 ร่วมกิจกรรม เกม บทบาทสมมุติแล้วอภิปรายกลุ่ม พร้อมกับรายงานทั้งด้านวาจาและการเขียน และมีการทัศนศึกษานอกสถานที่ 3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค 3.3.2 พิจารณาจากการนำเสนอรายบุคคลและรายกลุ่ม
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค 3.3.2 พิจารณาจากการนำเสนอรายบุคคลและรายกลุ่ม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1 มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และ บทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ ผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม 4.2 มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรงตามมาตรฐานสากล
4.1 มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และ บทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ ผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม 4.2 มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรงตามมาตรฐานสากล
4.2 วิธีการสอน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2 มอบหมายงานทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล 4.2.3 วิเคราะห์เหตุการณ์ บ้านเมือง สังคม ข่าว ในงานการมีปฏิสัมพันธ์
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2 มอบหมายงานทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล 4.2.3 วิเคราะห์เหตุการณ์ บ้านเมือง สังคม ข่าว ในงานการมีปฏิสัมพันธ์
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1 นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด เกี่ยวกับการวิเคราะห์กรณีศึกษา ข่าว เหตุการณ์ 4.3.2 ประเมินผลการรายงานที่นักศึกษานำเสนอ 4.3.3 ประเมินผลจากการอภิปรายกลุ่ม
4.3.1 นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด เกี่ยวกับการวิเคราะห์กรณีศึกษา ข่าว เหตุการณ์ 4.3.2 ประเมินผลการรายงานที่นักศึกษานำเสนอ 4.3.3 ประเมินผลจากการอภิปรายกลุ่ม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 5.3 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.4 มีความสามารถในการใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวลการแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล
5.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 5.3 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.4 มีความสามารถในการใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวลการแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล
5.2 วิธีการสอน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทางเว็บไซต์ แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง และทัศนศึกษานอกสถานที่ 5.2.2 นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทางเว็บไซต์ แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง และทัศนศึกษานอกสถานที่ 5.2.2 นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย หลังจากฟังการนำเสนอผลการศึกษาของเพื่อน 5.3.2 ประเมินจากรายงานการเขียน และการนำเสนอผลงานในรูปของเทคโนโลยี
5.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย หลังจากฟังการนำเสนอผลการศึกษาของเพื่อน 5.3.2 ประเมินจากรายงานการเขียน และการนำเสนอผลงานในรูปของเทคโนโลยี
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.3.1,3.3 | ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค | 3 8 12 16 | 5% 25% 15% 25% |
2 | 1.3.3,3.3, 4.3.2,5.2.1, 5.2.2,5.3.1 | วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
3 | 1.3.1,1.3.2, 2.3.2,4.3.3, 5.3.2 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
- บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : ธรรมสาร, 2557.
-ชูศักดิ์ วิทยาภัค. การท่องเที่ยวกับการพัฒนา : พินิจหลวงพระบางผ่านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. เชียงใหม่ : คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554.
-ยศ สันตสมบัติ. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการจัดการทรัพยากร. เชียงใหม่ : นพบุรีการพิมพ์, 2544.ฯ : 2
l-มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด. การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการที่ยั่งยืนในลุ่มน้ำโขง. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548 2
-วีดิทัศน์การท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง.
-เอกสารแนะนำแหล่งการท่องเที่ยวในจังหวัดลำปาง.
1.ในวันแรกของการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจถึงการปรับปรุงรายวิชานี้จากการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ผ่านมา และประโยชน์จากข้อคิดเห็นของนักศึกษาต่อการพัฒนารายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนารายวิชาในช่วงปลายของภาคการศึกษา
2.ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล-คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนด้วยตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษา ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
1.การประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา การประเมินการสอนของตนเองและสรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
2.การวิเคราะห์ในชั้นเรียน เพื่อพัฒนารูปแบบ วิธีการเรียนการสอน และวิธีการฝึกปฏิบัตินอกสถานที่
1.ให้อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ
2.(อาจ) ให้กรรมการทวนสอบ สุ่มตรวจสอบการให้คะแนนในรายวิชาหรือรายงานของผู้เรียน
3.เปรียบเทียบการให้คะแนนข้อสอบแต่ละข้อในรายวิชา ตามเกณฑ์ที่กำหนด
4.(อาจ) จัดทำข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชา (หรือกับสถาบันในเครือข่าย)
1.นำข้อคิดเห็นของนักศึกษาจากข้อ 1 มาประมวล เพื่อจัดกลุ่มเนื้อหาความรู้ที่ต้องปรับปรุง วิธีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และรูปแบบของการศึกษาการปฏิบัติงานนอกสถานที่ ผลจากการประมวลจะนำไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป
2.นำผลการประเมินการสอนของตนเองจากข้อ 2 มาจัดกลุ่มเทียบเคียงกับข้อคิดเห็นของนักศึกษา เพื่อพัฒนาเนื้อหาสาระให้ทันสมัย ปรับวิธีการเรียนการสอน และวิธีการประเมินผลให้ตรงกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม