การวิจัยทางการตลาด
Marketing Research
ความหมาย ความสำคัญ และประเภทของการวิจัยทางตลาด การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์การวิจัย การทบทวนวรรณกรรม ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การสร้างเครื่องมือการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป การเขียนรายงานการวิจัย จรรยาบรรณของการวิจัยทางการตลาด
ความหมาย ความสำคัญ และประเภทของการวิจัยทางตลาด การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์การวิจัย การทบทวนวรรณกรรม ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การสร้างเครื่องมือการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป การเขียนรายงานการวิจัย จรรยาบรรณของการวิจัยทางการตลาด
ความหมาย ความสำคัญ และประเภทของการวิจัยทางตลาด การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์การวิจัย การทบทวนวรรณกรรม ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การสร้างเครื่องมือการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป การเขียนรายงานการวิจัย จรรยาบรรณของการวิจัยทางการตลาด
Definition, importance and types of marketing research; determination of research problems and objectives; literature reviews; population and sample; creation of research tools; data collection; data analysis by using software computer programs; writing for research reports; codes of ethics in marketing research.
Definition, importance and types of marketing research; determination of research problems and objectives; literature reviews; population and sample; creation of research tools; data collection; data analysis by using software computer programs; writing for research reports; codes of ethics in marketing research.
มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
- สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา - ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา ส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
- ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม - ประเมินจากการเข้าเรียนตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย - สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
- จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ - เรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน - ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติ และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
- การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน - ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ - ประเมินจากงานที่มอบหมาย - ประเมินจากการนำเสนอ - ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน/งานที่มอบหมาย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
- การศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน - การมอบหมายงานการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง - จัดให้ในรายวิชามีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่าง ๆ ทั้งใน และนอกสาขา
- ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบโดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหาอธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา - ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
- ใช้การสอนโดยสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่าง ๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง - จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
- มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
- มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
- การทดสอบย่อยกลางภาคและปลายภาค - ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
- สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร - มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ - ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
- การทดสอบย่อยกลางภาคและปลายภาค - ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม - ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สามารถปฏิบัติโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือ สถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม - จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม - จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
- ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม - พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม - การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆ เพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
- วุฒิ สุขเจริญ. วิจัยการตลาด. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2018 - ธานินทร์ ศิลป์จารุ. การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี. กรุงเทพฯ
นิตยสาร Marketeer
นิตยสาร BrandAge
- หนังสืองานวิจัยเล่มแดง (ตัวอย่างของรุ่นพี่ที่เคยทำมาก่อน)
การประเมนผลของรายวิชาโดยนักศึกษามีกลยุทธ์ดังนี้
การสนทนาเป็นรายบุคคล และรายกลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในขณะที่เข้าพบเพื่อรายงานความก้าวหน้าของงานวิจัย การสังเกตจากพฤติกรรมนักศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
ผลการสอบและผลการเรียนของนักศึกษา การสนทนาสอบถามจากนักศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อที่ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
การพัฒนาปรับปรุงเนื้อหารายวิชา การพัฒนารูปแบบสื่อการสอน สื่อและอุปกรณ์การสอน รวมถึงรูปแบบการจัดกิจกรรมการมอบหมายงานต่าง ๆ การทำวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชาจากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงการพิจารณาการสอบหัวข้อวิจัยตลาดและผลการสอบปากเปล่าปิดเล่มโครงงานการวิจัยตลาด มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชาดังนี้
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานเล่มโครงงานการวิจัยตลาดโดยอาจารย์ท่านอื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประหลักสูตรหรือคณะกรรมสอบโครงงานวิจัยตลาด มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงานรูปเล่มโครงงานวิจัยตลาด วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
นำข้อเสนอแนะของที่นักศึกษาได้เสนอแนะมาปรับปรุง ในส่วนที่ผิดพลาดให้ดีขึ้น ภาพรวม และในแต่ละรายวิชา กรณีที่พบปัญหาของรายวิชาก็สามารถที่จะดำเนินการปรับปรุงรายวิชานั้นๆ ได้ทันทีและปรับปรุงรายวิชาทุก ๆ 5ปี หรือตามข้อเสนอแนะผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4