ปั๊มและเครื่องอัดอากาศ
Pump and Air Compressor
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน องค์ประกอบของปั้มและเครื่องอัดอากาศสำหรับงานเหมืองแร่
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งทฤษฏีและภาคปฏิบัติในการออกแบบ เลือกอุปกรณ์ในการใช้งานให้เหมาะเหมาะสมกับเงื่อนไขในสภาพพื้นที่นั้นๆ ได้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงาน และชนิดของปั๊ม และเครื่องอัดอากาศระบบ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ส่วนควบคุมระบบปั๊ม และเครื่องอัดอากาศ การคำนวณกำลังงาน การสูญเสียในระบบท่อ และการเชื่อมต่อของปั๊มและเครื่องอัดอากาศ การออกแบบระบบ การติดตั้งและการซ่อมการบำรุงรักษาปั๊มและเครื่องอัดอากาศ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ คำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานปั้มและเครื่องอัดอากาศ
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือการสร้างเหตุการณ์สมมุติ
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือการสร้างเหตุการณ์สมมุติ
1.3.2 การมีส่วนร่วมเข้าชั้นเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้ความเข้าใจในหลักการของปั้มและเครื่องอัดอากาศ สามารถออกแบบด้วยวิธีการคำนวณประสิทธิภาพ จำนวน รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะเครื่องจักรได้โดยสอดคล้องกับงบประมาณที่กำหนด และรวมไปถึงองค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเหมืองแร่หรืองานอุโมงค์ สามารถนำเทคโนโลยีในปัจจุบันเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการทำเหมืองแร่ มีความเข้าใจในกฎหมายเหมืองแร่ สามารถจัดทำรายงานการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการเหมืองแร่
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา การศึกษาและแก้ไขปัญหา โดยเน้นผู้เรียนมีความคิดและกล้าแสดงออกพร้อมกับเหตุและผลสนับสนุนคำตอบนั้นๆ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ และทักษะการคำนวณเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับปั้มและเครื่องอัดอากาศ
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวข้องกับปั๊มและเครื่องอัดอากาศในงานเหมืองแร่ งานอุโมงค์และที่อับอากาศ
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การคำนวณปริมาณงาน งบประมาณ การกำหนดลักษณะเฉพาะของเครื่องจักรให้เหมาะสมกับงาน การทำรายงานการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข และการแปรผลข้อมูล
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูล
5.1.5 ทักษะการซอฟแวร์ในการประยุกต์ใช้กับงานปั๊มและเครื่องอัดอากาศ
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอผลการศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
5.2.1 นำเสนอผ่านกรณีศึกษา หรือ เหตุการณ์สมมุติ
5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5.2.3 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอ
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
การทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นยิ่งในการพัฒนาตนเอง และความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตวิศวกรรมเหมืองแร่ ดังนั้นในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านวิศวกรรมแหมืองแร่ ดังข้อต่อไปนี้
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่าง ๆที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้
6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.3 สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมเหมืองแร่กับหน่วยงานภายใน และภายนอก
6.2.4 จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
6.2.5 สนับสนุนการทำโครงงาน
6.2.6 การฝึกงานทางวิศวกรรมเหมืองแร่ในสถานประกอบการ
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
6.3.3 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยะธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | ENGMN125 | ปั๊มและเครื่องอัดอากาศ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ทดสอบความรู้ความเข้าใจทางทฤษฏี | สอบวัดผลกลางภาค | 7 | 25% |
2 | ทดสอบความรู้ความเข้าใจทางทฤษฏี | สอบวัดผลปลายภาค | 17 | 25% |
3 | การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน กล้าคิด กล้าแสดงออก | การเข้าเรียน และการถามตอบในห้องเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
4 | แบบฝึกหัด/Quiz/การบ้าน | การส่งงาน และความถูกต้องของงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
5 | การเขียนรายงาน | 1. นวัตกรรม 2.ตรรกะของบทความ 3. การเขียนรายงานตามแบบฟอร์ม | 17 | 10% |
6 | การนำเสนอรายงาน | 1. การทำรายงาน PPT> การจัดระเบียบ เนื้อหากระชับ มีการลำดับคิดวิเคราะห์ 2. การนำเสนอ PPT> สื่อสารชัดเจน เนื้อหากระชับ 3. การตอบคำถาม> ตามเหตุและผล ตามหลักการ | 17 | 10% |
Xylem, "Guidelines for Slurry pumping," in Slurry handbook: Flygt, 2013, pp. 1-50.
Frei B, Huber H. Characteristics of different pump types operating with ice slurry. International Journal of Refrigeration. 2005 Jan 1;28(1):7-92.
ตุลย์ มณีวัฒนา. การคํานวณปริมาณการระบายอากาศ ตามมาตรฐาน ASHRAE 62.1. สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย. pp. 43-63.
Frei B, Huber H. Characteristics of different pump types operating with ice slurry. International Journal of Refrigeration. 2005 Jan 1;28(1):7-92.
ตุลย์ มณีวัฒนา. การคํานวณปริมาณการระบายอากาศ ตามมาตรฐาน ASHRAE 62.1. สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย. pp. 43-63.
สุนทร อุปมาณ. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ในพนทอบอากาศ . กรมควบคุมมลพิษ. pcdnew-2023-03-16_09-11-37_252430.pdf
Hbzdpump. "Horizontal High Efficiency Slurry Pumps." Zidong Pump. https://www.hbzdpump.com/ (accessed 10 June 2024).
Xylem. "Submersible Slurry Pumps." xyleminc. https://www.xylem.com/ (accessed 10 June 2024).
Daepumps. "Pumping Applications in the Mining Industry." Designed & Engineered Pumps. https://www.daepumps.com/pump-applications/mining/ (accessed 15 June 2024).
Atlas Copco. ".อากาศอัดหรือลมอัดสำหรับอุตสาหกรรมการเหมืองแร่" Atlas Copco Compressor Technique.https://www.atlascopco.com/ (accessed 15 June 2024).
Xylem. "Submersible Slurry Pumps." xyleminc. https://www.xylem.com/ (accessed 10 June 2024).
Daepumps. "Pumping Applications in the Mining Industry." Designed & Engineered Pumps. https://www.daepumps.com/pump-applications/mining/ (accessed 15 June 2024).
Atlas Copco. ".อากาศอัดหรือลมอัดสำหรับอุตสาหกรรมการเหมืองแร่" Atlas Copco Compressor Technique.https://www.atlascopco.com/ (accessed 15 June 2024).
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านออนไลน์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ