การบริหารความขัดแย้งในองค์การและการเจรจาต่อรอง
Organizational Conflict Management and Negotiation
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด รูปแบบ กระบวนการ และวิธีการจัดการความขัดแย้ง
2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ความขัดแย้งและการแก้ปัญหาในสังคมสมัยใหม่ได้
3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทําประชาพิจารณ์ การประชามติ เทคนิคการเจรจาต่อรอง วิธีการวิเคราะห์และจัดวางกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรองให้บรรลุเป้าหมายของธุรกิจ
4. เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง ไปใช้ในการประกอบธุรกิจได้
2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ความขัดแย้งและการแก้ปัญหาในสังคมสมัยใหม่ได้
3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทําประชาพิจารณ์ การประชามติ เทคนิคการเจรจาต่อรอง วิธีการวิเคราะห์และจัดวางกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรองให้บรรลุเป้าหมายของธุรกิจ
4. เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง ไปใช้ในการประกอบธุรกิจได้
เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต วิชาเอกการจัดการธุรกิจ
แนวคิด รูปแบบ กระบวนการ และวิธีการจัดการความขัดแย้ง การวิเคราะห์ความขัดแย้งและการแก้ปัญหาในสังคมสมัยใหม่ การจัดทําประชาพิจารณ์ การประชามติ แนวคิด ทฤษฎี และเทคนิคการเจรจาต่อรอง เพื่อพัฒนาทักษะในการเจรจาและโน้มน้าวคู่เจรจา วิธีการวิเคราะห์และจัดวางกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรองให้บรรลุเป้าหมายของธุรกิจ
1 ชั่วโมง
มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
สอดแทรก หลักจริยธรรม คุณธรรม ความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม สิ่งแวดล้อม ความขยัน อดทน และอื่น ๆ
สังเกต ถามตอบเกี่ยวกับประเด็นจริยธรรม
(1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
(2) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
(2) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
บรรยาย ยกตัวอย่าง และมอบหมายแบบฝึกหัด ให้ฝึกประยุกต์ใช้ความรู้ และบูรณาการระหว่างศาสตร์
ตรวจความถูกต้องจากแบบฝึกหัด และแบบทดสอบ
สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้านมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
มอบหมายงานให้ฝึกวิเคราะห์และตัดสินใจ เกี่ยวกับทางเลือกและผลกระทบด้านต่างๆ
ตรวจความถูกต้องจากงานมอบหมาย และแบบทดสอบ
มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม และพร้อมพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายงานที่ทำร่วมกันเป็นกลุ่ม เพื่อเพิ่มทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในส่วนงานที่ได้รับมอบหมาย
สังเกตการทำงานและการแสดงออกถึงความสัมพันธ์ในกลุ่ม
สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
มอบหมายงานค้นคว้า กรณีศึกษา และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยี
การสังเกตความถูกต้องเหมาะสม ในการนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจา และการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอ
สามารถปฏิบัติงานโดยนําองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายงานที่ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์อื่นๆ มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ด้านการบริหารธุรกิจ
ตรวจความถูกต้องของงานมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรม จริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม | (1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง | (2) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน | สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้านมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ | มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม และพร้อมพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง | สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ |
1 | BBABA227 | การบริหารความขัดแย้งในองค์การและการเจรจาต่อรอง |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | หน่วยเรียนที่ 1-5 | - ตรวจความถูกต้องของแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา - ตรวจการนำเสนอเนื้อหาและแนวความคิดในกรณีศึกษาและงานมอบหมาย - สังเกตความรับผิดชอบจากการนำเสนอผลงานและตอบคำถามของนักศึกษา | 1-7 และ 9-16 | 30 |
2 | หน่วยเรียนที่ 1-2 | ทดสอบกลางภาค | 8 | 30 |
3 | หน่วยเรียนที่ 3-5 | ทดสอบปลายภาค | 17 | 30 |
4 | คุณธรรม จริยธรรม และการเคารพกฎระเบียบ | - การเข้าเรียนประเมินผลจากการลงลายมือชื่อเข้าเรียน - การแต่งกายประเมินผลจากการสังเกตโดยผู้สอน -การทำงานร่วมกับผู้อื่น ประเมินผลจากการสังเกตโดยผู้สอน -การส่งงาน ประเมินผลจากการส่งงานตามกำหนดเวลา - จรรยาบรรณ ประเมินผลจากการสังเกตโดยผู้สอน | 1-17 | 10 |
สุพรรัตน์ ทองฟัก.เอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบริหารความขัดแย้งในองค์การและการเจรจาต่อรอง. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก. 2567.
เอกสารและข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งในองค์การและการเจรจาต่อรอง ของสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ที่เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต
การบริหารความขัดแย้ง
การทำงานเป็นทีม
การจูงใจและเจรจาต่อรอง
การทำงานเป็นทีม
การจูงใจและเจรจาต่อรอง