เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ

Meat and Fishery Products Technology

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติทางเคมี-กายภาพของเนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพตลอดจนถึงการเน่าเสีย สารพิษที่เกิดจากวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ การใช้เทคโนโลยีแปรรูปผลิตภัณฑ์ การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะปฏิบัติในด้านการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ
    1.3 เพื่อให้นักศึกษาติดตามความก้าวหน้าในเทคโนโลยีและสามารถนำไปพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง
เพื่อพัฒนาปรับปรุงเทคนิควิธีการสอนให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ และมีการทวนสอบเพื่อปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสมบัติทางเคมี-กายภาพของเนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพตลอดจนถึงการเน่าเสีย สารพิษที่เกิดจากวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ การใช้เทคโนโลยีแปรรูปผลิตภัณฑ์ การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ
Study and practice on physicochemical properties of meat and fishery; quality changes including deterioration, toxicology of raw material and meat products; use of process technology in meat and fishery products; the utilization of by products; meat and fishery products development
2
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาวิชาชีพ
    1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1. เข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มอบหมายให้ปฏิบัติงานนอกเวลาเรียน (กรณีบางบทปฏิบัติการใช้เวลานานไม่เสร็จสิ้นในชั่วโมงเรียนหรือตรวจคุณภาพผลิตภัณฑ์หรือเตรียมวัตถุดิบก่อนสู่บทปฏิบัติการต่อไป)
1. ตรวจสอบการชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอตลอดภาคเรียน สังเกตการแต่งกาย และมีพฤติกรรมในชั้นเรียนที่เหมาะสม มีการถามและตอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องในชั้นเรียน
2. ประเมินความรับผิดชอบและความสนใจ งานมอบหมายให้ปฏิบัติงานนอกเวลาเรียน
2.1 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
1.บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีหน่วยเรียนที่ 1-6
2. มอบหมายงานค้นคว้าบทความทางวิชาการหรือผลงานวิจัยตีพิมพ์ใหม่ๆ ย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี ทางเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ ทั้งในระดับชาติหรือนานาชาติ
1.สอบข้อเขียนแบบอัตนัยและ/หรือแบบปรนัย ในการสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค และมีผลการเรียนแต่ละหน่วยผ่านร้อยละ 50
2. ประเมินผลการนำเสนอ ความน่าสนใจของเนื้อหา การสรุปประเด็นปัญหา การตอบข้อซักถามความเข้าใจและการประยุกต์ใช้
3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. แบ่งกลุ่มนักศึกษาฝึกปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ
2. มอบหมายงานทำรายงานบทปฏิบัติการหลังภาคปฏิบัติ
3. ศึกษาดูงานโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ
1. ประเมินจากทักษะปฏิบัติถูกต้องตามขั้นตอน และสามารถแก้ปัญหาจากสภาวะจริงในระหว่างปฏิบัติ และประเมินคุณภาพผลิตภัณฑ์สุดท้าย
2. ประเมินคุณภาพของรายงานบทปฏิบัติการ
3. ประเมินรายงานศึกษาดูงาน
4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ
2. มอบหมายให้ทำรายงานบทปฏิบัติการ รายงาน รายบุคคลหรือรายกลุ่ม
1. สังเกตการทำงานเป็นทีม การแบ่งหน้าที่ ความเป็นผู้นำและผู้ตาม ความรับผิดชอบร่วมกันในกลุ่มและรายบุคคล
2. ประเมินการส่งรายงานบทปฏิบัติการหลังภาคปฏิบัติภายในเวลาที่กำหนด
5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
5.2 สามารถสรุปประเด็น และสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.ในภาคปฏิบัติอธิบายสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และการหาร้อยละของผลผลิต
2. มอบหมายงานค้นคว้าบทความทางวิชาการหรือผลงานวิจัยตีพิมพ์ใหม่ๆ ย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี ทางเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ ทั้งในระดับชาติหรือนานาชาติ
1. ตรวจสอบการคำนวณสูตรและการคำนวณหาร้อยละการผลิตที่ถูกต้อง
2. ประเมินผลการนำเสนอ ความน่าสนใจของเนื้อหา การสรุปประเด็นปัญหา การตอบข้อซักถามความเข้าใจและการประยุกต์ใช้
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1.แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ
2.อธิบายวิธีการปฏิบัติ วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม และข้อควรระวังใช้การใช้เครื่องมือ
1.การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนด
2. ประเมินทักษะปฏิบัติการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาวิชาชีพ 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2.1 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็น และสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 BSCFT138 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา สอบย่อย (หน่วยที่ 1, 2, 4, 5) 3, 5, 8, 12, 15 35 %
2 2.1 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา สอบกลางภาค(หน่วยที่ 3) 9 5 %
3 2.1 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา สอบปลายภาค(หน่วยที่ 6) 18 5 %
4 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาวิชาชีพ 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม จิตพิสัยในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
5 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ การทำงานกลุ่มและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
6 3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม รายงาน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
7 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็น และสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน 16-17 15 %
8 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ทักษะปฏิบัติและการบริหารจัดการ ตลอดภาคการศึกษา 10 %
เยาวลักษณ์  สุรพันธพิศิษฐ์.  (2536).  เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์.  พิมพ์ครั้งที่ 2.  ภาควิชา
          อุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีเกษตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 
          135 น.
ไพศาล  วุฒิจำนงค์.  (2531).  คู่มือปฏิบัติการ เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง.  ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร
คณะทรัพยากรธรรมชาติ: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.  36 น.
มัทนา  แสงจินดาวงษ์.  (2545).  ผลิตภัณฑ์ประมงไทย.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง
          คณะประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  323 น.
อุมาพร  ศิริพินทุ์.  (2546).  เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์.  เชียงใหม่:
          ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร.  คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร.  มหาวิทยาลัยแม่โจ้.  181 น.
Barbut S.  (2002).  Poultry Products Processing an Industry Guide.  CRC Press.  UK.
Price J. F. and Schweigert B. S.  (1971).  2nd edited.  The science of meat and
meat   products.  San Francisco : W. H. Freeman, United States of America.  660 p.
Warriss, P.D.  (2000).  Meat Science.  New York: CABI Publishing.  310 p.
วารสารอาหาร, Journal of Food Science, Journal of Food Technology, Journal of Meat Science
เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.1 แบบประเมินความพึงพอใจรายวิชา 
1.2 ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์ในชั้นเรียน
3.2 การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
3.3 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.4 การบรรยายความก้าวหน้าทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์การแปรรูปจากเนื้อสัตว์ตามโอกาส
3.5 การศึกษาดูงานนอกสถานตามโอกาส
ระหว่างการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ