การทำเหมืองผิวดิน

Surface Mining

CLO1: อธิบายหลักการสำรวจแร่ การประเมิน และพัฒนาแหล่งแร่สำหรับการทำเหมืองผิวดิน
CLO2: จำแนกและเลือกใช้วิธีการทำเหมืองผิวดินที่เหมาะสมกับสภาพทางธรณีวิทยาและเศรษฐศาสตร์
CLO3: วิเคราะห์กระบวนการขุดดินและหิน พร้อมทั้งเทคนิคการเจาะและระเบิดในเหมืองผิวดิน
CLO4: ออกแบบแผนการผลิตและการดำเนินงานของเหมืองผิวดินให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
CLO5: ประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในการดำเนินงานเหมืองผิวดิน
CLO6: วิเคราะห์กระบวนการทำงานของโรงโม่หินและแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
          2.1 เพื่อให้เนื้อหาวิชามีความทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีและแนวโน้มการพัฒนาในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ
2.2 เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะของผู้เรียนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยเน้นการเรียนรู้เชิงปฏิบัติและการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง
2.3 เพื่อเสริมสร้างความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับผู้เรียนในกระบวนการทำเหมืองผิวดิน
2.4 เพื่อสนับสนุนการบูรณาการองค์ความรู้ข้ามสาขาวิชา เช่น ธรณีวิทยา วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีการผลิต
2.5 เพื่อปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้มีความหลากหลายและเหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน เช่น การใช้กรณีศึกษา แบบจำลอง หรือการเรียนรู้นอกสถานที่
2.6 เพื่อยกระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ให้สามารถวัดผลได้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
2.7 เพื่อเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนสามารถประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเหมืองแร่ได้อย่างมีคุณภาพและจรรยาบรรณในอนาคต
ศึกษาการสำรวจแร่ การประเมินและพัฒนาแหล่งแร่ การจำแนกและการเลือกใช้วิธีทำเหมืองผิวดินแบบต่างๆ งานขุดดินและหิน  เทคนิคการเจาะและระเบิด การป้องกันสิ่งแวดล้อม   สวัสดิการและความปลอดภัยในการทำเหมืองผิวดิน การออกแบบการทำเหมืองและแผนการผลิต โรงโม่หินและประสิทธิภาพการทำเหมือง
Study of exploration, evaluation and development of mineral deposits. Classification and application of various surface mining methods. Earth and rock excavations. Drilling and blasting techniques. Environmental protection, mine welfare and safety.
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ คำนึงถึงความซื่อสัตย์ในการออกแบบและการทำเหมืองผิวดิน โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้ ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและทำเหมืองผิวดิน ฝึกปฏิบัติการออกแบบและการทำเหมืองผิวดินจากกรณีศึกษา (Problem and Project Base Learning) อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือการสร้างเหตุการณ์สมมุติ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในหลักการ วิธีการคำนวณ  การรวมองค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและทำเหมืองผิวดิน การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ การจำลองสถานการณ์
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และทดลองออกแบบการทำเหมืองผิวดิน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ ผ่านโครงงาน Problem – based Learning ซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ ทฤษฏี และแนวคิดรวบยอดในการใช้ความรู้เชิงประยุกต์กับการปฎิบัติการด้านงานเหมืองแร่
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ และสารมารถตกผลึกทางความคิดได้
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษาในการออกแบบการทำเหมืองแร่ โดยใช้ข้อมูลทางธรณีวิทยา ภูมิศาสตร์ เทคโนโลยีในการทำเหมืองผิวดิน  ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน  เป็นเครื่องมือหลักในการตัดสินใจในการออกแบบการทำเหมืองผิวดิน
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์การออกแบบการทำเหมืองแร่ โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เป็นเครื่องมือหลักในการตัดสินใจ
3.3.2   วัดผลจากการผลงานที่ได้รับมอบหมายกรณีศึกษาต่างๆ
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนอผลงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และกลุ่ม ด้วยการสะท้อนความคิด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข เช่น การคำนวณปริมาณสำรองแร่, Cycle Time, ค่าใช้จ่าย เป็นต้น
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูล
5.1.5   ทักษะในการนำเสนอผลการศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
5.2.1   บรรยาย นำเสนอผ่านกรณีศึกษา หรือ เหตุการณ์สมมุติ
5.2.2   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5.2.3   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอ
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2  มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.3 สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานภายในและภายนอก
6.2.4 จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
6.2.5 สนับสนุนการทำโครงงาน
6.2.6 สหกิจศึกษา/ฝึกงานทางวิศวกรรมในสถานประกอบการ
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
6.3.3 มีการประเมินผลการทางานในภาคปฏิบัติ
6.3.4 มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย และตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม 3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไข ข้อขัด แย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 4. สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม 5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบ วิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 1.มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการ สร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 3.สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 5.สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 1.มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 2.สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3. สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและ สอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 5.สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ 1.สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 2.สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่มรวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ 3. สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและ สอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 5.มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษา สภาพแวดล้อมต่อสังคม 1.มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 2.มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 3.สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้ อย่าง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 4.มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 1.มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ENGMN130 การทำเหมืองผิวดิน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 COLs1: มีความรู้ด้านวิศวกรรม (Engineering Knowledge) COLs2: มีการวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) COLs11: มีความรู้การบริหารโครงการและการลงทุน (Project Management and Finance) -Midterm Examination -Final Examination 8,17 45%
2 COLs3: สามารถการออกแบบ/พัฒนาหาคำตอบของปัญหา (Design/Development of Solutions) COLs4: มีความสามารถในการสืบค้น (Investigation) COLs5: สามารถใช้เครื่องมือทันสมัย (Modern Tool Usage) COLs6: วิศวกรและสังคม (The Engineer and Society) COLs7: คำนึงสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน (Environment and Sustainability) COLs9: มีการทำงานเดี่ยวและทำงานเป็นทีม (Individual and Team work) - งานกลุ่ม - รายงาน 5 , 10 35%
3 COLs6: วิศวกรและสังคม (The Engineer and Society) COLs8: มีจรรยาบรรณวิชาชีพ (Ethics) COLs10: มีการสื่อสาร (Communication) - เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน - ส่งงานตามกำหนด ตลอดภาคการศึกษา 20%
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ENGMN130 การทำเหมืองผิวดิน
 
กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตวาหกรรม. (2540). แผนที่แหล่งแร่และเชื้อเพลิงธรรมชาติของประเทศไทย.           กรุงเทพมหานคร: กองพัฒนาทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี. กฎกระทรวงฉบับที่ 3 และ 4 (พ.ศ.     2508) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505
กฎกระทรวง ฉบับที่ 25 และ 28 (พ.ศ.2517) ออกตามความในพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510
ฉดับ ปัทมสูต, “การทำเหมือง” เอกสารประกอบคำสอนวิชา 2106313 Mining Engineering ภาควิชา
วิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชะนะ นิลคูหา, “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทำเหมืองแร่ ภาค 1” หนังสืออนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิง
ศพของนายชะนะ นิลคูหา, พ.ศ. 2530.
ฝ่ายพัฒนาเหมืองแร่และเหมืองหิน กองการเหมืองแร่ กรมทรัพยากรธรณี, “การใช้วัตถุระเบิดในงานเหมือง
แร่”, มิถุนายน 2525, 187 หน้า
ฝ่ายพัฒนาเหมืองแร่และเหมืองหิน กองการเหมืองแร่ กรมทรัพยากรธรณี, “มาตรการป้องกันผลกระทบจาก
การใช้วัตถุระเบิดในงานเหมืองแร่และเหมืองหิน” สิงหาคม 2541, 108 หน้า
พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542
 
หัตถโกศล, พ. (2555). คู่มือพัฒนาผลผลิตและประสิทธิภาพ. เชียงใหม่: กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่.
หัตถโกศล, พ. (2560). การทำเหมืองและการออกแบบเหมืองผิวดิน. เชียงใหม่: ภาควิชาเหมืองแร่และปิโตเลียม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ไพรัช จรูญพัฒนพงศ์, การประเมินโครงการและเทคนิคการตัดสินใจลงทุนในงานเหมืองแร่ เอกสาร
ประกอบการสอน, 2547
ไพรัตน์ เจริญกิจ และคณะ (2545), “รายงานการศึกษาผลกระทบจากความสั่นสะเทือนจากการใช้วัตถุ
ระเบิดในการทำเหมืองแร่ยิปซัม ที่อาจมีผลกระทบต่อโบราณสถานถ้ำรูปขนาน หมู่ที่4 ตำบลทุ่ง
ใหญ่ อำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช, รายงานการศึกษา กลุ่มวิศวกรรมและความ
ปลอดภัย สำนักเหมืองแร่และสัมปทาน กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ธันวาคม
2545, 35 หน้า
ไพรัตน์ เจริญกิจ และคณะ (2543), “รายงานการศึกษาผลกระทบจากความสั่นสะเทือนจากการใช้วัตถุ
ระเบิดในการทำเหมืองแร่ยิปซัม ที่อาจมีผลกระทบต่อโบราณสถานเขาถ้ำขรม หมู่ที่ 1 ตำบลคลอง
ปราบ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี, รายงานการศึกษา ฝ่ายพัฒนาเหมืองแร่และเหมือง
หิน กองการเหมืองแร่ กรมทรัพยากรธรณี, พฤศจิกายน 2543, 37 หน้า
ไพรัตน์ เจริญกิจ และคณะ (2536), “รายงานการศึกษาความสั่นสะเทือนของชั้นดินหินจากการระเบิด”
รายงานการศึกษา ฝ่ายพัฒนาเหมืองแร่และเหมืองหิน กองการเหมืองแร่ กรมทรัพยากรธรณี
พฤศจิกายน 2536, 39 หน้า
วารสารสมาคมวิศวกรรมเหมืองแร่ไทย ฉบับปี 2532. การศึกษาความเป็นไปได้ในการทำเหมือง
เว็บไซด์สภาวิศวกร (www.coe.or.th)
เว็บไซต์กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (www.dpim.go.th)
หฤทัย มีนะพันธ์, หลักการวิเคราะห์โครงการ ทฤษฎีและวิธีปฏิบัติเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2544
สมเกียรติ ภูธงชัยฤทธิ์ และ ไพรัตน์ เจริญกิจ (2537), “การป้องกันอันตรายและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
จากการใช้วัตถุระเบิดในงานเหมืองแร่” รายงานการศึกษา ฝ่ายพัฒนาเหมืองแร่และเหมืองหิน กอง
การเหมืองแร่ กรมทรัพยากรธรณี, กรกฎาคม 2537, 54 หน้า
Abouzeid, A.-Z.M. Mineral Processing Laboratory Manual. Series on Mining Engineering Vol.9.       Trans Tech Publications. 1990.
A Citizen's Guide to Solvent Extraction, United States Environmental Protection Agency Solid      Waste andEmergency Response (5102G), EPA 542-F-96-00, April 1996.
Atlas Powder Company, Field Technical Operation, Dallas, Texas, USA "Explosive and Rock           Blasting"1987, pp. 662
Bauer, A. and Crosby, W.A., "Blasting": Surface Mining 2nd edition, 1990, pp. 540-581.
Bond, F.C. Crushing and Grinding Calculations. Part I and II. British Chemical Engineering. Vol. 6    No.6 & No. 8. 1961.
Call, Richard D., "Slope Stability", Chapter 10.4 in SME Mining Engineering Handbook, 2nd Edition,
          Senior Editor Howard L. Hartman, Seeley W. Mudd Memorial Fund of AIME, Society for    Mining Metallurgy, and Exploration, Inc., Littleton, Colorado, 1992. pp 881-896.
          Cui, Jirang. Mechanical Recycling of Consumer Electronic Scrap. Licentiate Thesis. Lulea   University of Technology. Department of Chemical Engineering and Geoscience, Division         of Mineral Processing. 2005.
Currie, J. Unit Operations in Mineral Processing. Department of Chemical and Metallurgical         Technology. British Columbia Institute of Technology. CSM. 1978.
De Bruyn, P.L., Agar, G.E., Surface Chemistry of Flotation. Floth Flotation 50th Anniversary          Volume. Fuerstenau, D.W. Editor. The American Institute of Mining, Metallurgical, and        Petroleum Engineers, Inc. New York 1962.
Design and Installation of Comminution Circuits. Mular, A. D, Jergensen, G.V. Editors. Society of   Mining Engineers of the American Institute of Mining, Metallurgical, and Petroleum         Engineers, Inc. 1982
EDDY CURRENT: NON-FERROUS METALS SEPARATORS. Publication. STEINERT        ELEKTROMAGNETBAU GmbH. Germany. www.steinert.de
E.I. du Pont de Nemours & Co (Inc.), Explosive Productions Division, Sales Development Section, Wilmington, Delaware 19898, "Blasters' Handbook" 1980, pp. 494.
Franklin J. and John M. Stermole. Economic Evaluation and Investment Decision Method, Eight   Edition: Colorado School of Mines, Golden, Colorado U.S.A., 1993
Gabriel, Renate. Mechanical Processing of EOL EEE, One Chance for the Environmentally Sound Management of Used Personal Computers and Other IT Appliances. 2nd OECD Workshop         on Environmentally Sound Management of Wastes Destined for Recovery Operations. Bureau for Technical Environmental Protection. Vienna. 2000.
Gary B. Hemphill, "Blasting Operations", Copyright 1981 by McGraw-Hill, Inc., pp.238
Gillson.,J.L., Editor in Chief. Industrial Minerals and Rocks. Seeley W. Mudd Series. The     AmericanInstitute of Mining, Metallurgical, and Petroleum Engineers. New York. 1971
Gochin, R. and Smith, M.R. Classifiers. Part I: An Introduction to the Theory and Practice. Mining   Magazine, July 1984
Gochin, R'. and Smith, M.R. Classifiers. Part II: Some of the Major Manufacturers of Classification   Equipment Used in Mineral Processing. Mining Magazine. July 1984
Hartman, Howard L., "Sec 3.7 Exploitation: Mining Methods", "Chapter 4 Unit Operations of         Mining", "Chapter 5 Surface Mine Development", Introductory Mining Engineering, A Wiley- Interscience Publication, John Wiley & Sons Inc., 1987.
Hartman, Howard L., "Elements of Mining", Chapter 1.2 in SME Mining Engineering Handbook, 2nd Edition, Senior Editor Howard L. Hartman, Seeley W. Mudd Memorial Fund of AIME,         Society for Mining, Metallurgy, and Exploration, Inc., Littleton, Colorado, 1992. pp 24-38.
Howard L. Hartman, Introductory Mining Engineering, A Wiley-Interscience Publication, John        Wilet & Sons, 1987.
Keane, J.M. Sedimentation: Theory, Equipment and Methods. Part I & II. World Mining, December          1979
Kliche, C., Ph.D. and Charenkit, P., Non-thesis Research, South Dakota School of Mines & Technology, SD., USA "A Guideline for Explosives and Rock Blasting in Thailand" 1996,         PP.-49
Kot F. Unrug, "Consruction of Development Openings", Chapter 17.4 in SME Mining Engineering    Handbook, 2nd Edition, Senior Editor Howard L. Hartman, Seeley W. Mudd Memorial Fund of AIME, Society for Mining, Metallurgy, and Exploration, Inc., Littleton, Colorado,         1992. pp 1580 -1645.
Krauskopf, K.B. Introduction to Geochemistry. 2nd Edition. McGraw-Hill. 1985
Laurich, Robert, Editor, "Planning and Design of Surface Mines", Chapter 5 in SurfaceMining 2"      Edition, B. A. Kennedy Editor, Seeley W. Mudd Memorial Fund of AIME, Society for       Mining, Metallurgy, and Exploration, Inc. Colorado, U.S.A. 1990. pp 459-479.
Mining Chemicals Handbook. Mineral Dressing Notes No. 26. Cyanamid International        Divisions,American Cyanamid Company. 1976.
Napier-Munn, T.J., Morrell, S., Morrison, R. D., and Kojovic, T. Mineral Comminution Circuits: Their           Operation and Optimization. JKMRC Monograph Series in Mining and Mineral Processing   2. Julius Kruttschnitt Mineral Research Centre, University of Queenland. 1999
Nitro Nobel AB, Sweden "Applied Explosives Technology for Construction and Mining" by Stig O Olofsson, 2nd Edition 1990, pp 304
O'Gallagher, B. Waste Management Technologies, Opportunities for Research and Manufacturing in Australia. Department of Industry, Technology and Commerce, August 1990
Owada, Shuji. (Department of Resources and Environmental Engineering, Waseda University).      Concept of Resources Recycling and the Application of Mineral Processing Technologies        mu 21 สิงหาคม 2544 ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์          มหาวิทยาลัย
Raja V. Ramani, "Mine Ventilation", Chapter 11.6 in SME Mining Engineering Handbook, 2nd         Edition, Senior Editor Howard L. Hartman, Seeley W. Mudd Memorial Fund of AIME,         Society for Mining, Metallurgy, and Exploration, Inc., Littleton, Colorado, 1992. pp 1052-        1092.
SB 501 UK. EDDY CURRENT SEPARATORS: Principle and practice.Publication. Eriez Magnetics       Europe Limited European Manufacturing, Design and Test Laboratory Headquarters.        Bedwas House Industrial Estate, Bedwas, Caerphilly. UK. www.eriez.com
Schoenert, K. Role of Fracture Physics in Understanding Comminution Phenomena. Society of    Mining Engineers, AIME. Transactions. Vol. 252, March 1972.
CLOs ผลลัพธิ์การเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน วิธีการประเมินผล CLO1 การบรรยาย การใช้ตัวอย่างกรณีศึกษา การสำรวจแหล่งแร่ แบบทดสอบความรู้ รายงานการประเมินศักยภาพแหล่งแร่ CLO2 การศึกษาวิธีการทำเหมืองจริง การวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของแต่ละวิธี รายงานการเปรียบเทียบวิธีการทำเหมือง การนำเสนอแผนการเลือกวิธีการทำเหมือง CLO3 การฝึกคำนวณกระบวนการขุดดินและหิน การใช้ซอฟแวร์จำลองกระบวนการขุดเจาะ รายงานวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการขุดดินและหิน การคำนวณปริมาณสำรองการทำเหมือง CLO4 การฝึกออกแบบแผนการเจาะและระเบิด การเรียนรู้จากกรณีศึกษา รายงานการเลือกเทคนิคการเจาะและระเบิด การนำเสนอแผนเจาะระเบิด CLO5 การศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม การฝึกออกแบบมาตรการป้องกันผลกระทบ รายงานผลกระทบของการทำเหมืองผิวดิน การออกแบบแผนป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม CLO6 การศึกษาแนวทางความปลอดภัยในเหมือง การเรียนรู้จากกรณีศึกษาอุบัติเหตุในเหมือง การทดสอบความรู้ด้านความปลอดภัย รายงานมาตรฐานความปลอดภัยในเหมือง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3   การทัศนศึกษานอกห้องเรียน พื้นที่เหมืองแร่ดีบุก อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
หากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ