สุนทรียศาสตร์
Aesthetics
1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงหลักทางสุนทรียศาสตร์ได้
2. ให้สามารถนำหลักการ ทฤษฎีทางด้านการสุนทรียศาสตร์มาประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. นักศึกษาเข้าใจ การวิจารณ์งานศิลปะและการออกแบบโดยใช้หลักสุนทรียะ
4. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีทางสุนทรียะเบื้องต้นออกมาเป็นชิ้นงานออกแบบตามจุดประสงค์
2. ให้สามารถนำหลักการ ทฤษฎีทางด้านการสุนทรียศาสตร์มาประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. นักศึกษาเข้าใจ การวิจารณ์งานศิลปะและการออกแบบโดยใช้หลักสุนทรียะ
4. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีทางสุนทรียะเบื้องต้นออกมาเป็นชิ้นงานออกแบบตามจุดประสงค์
นักศึกษาเข้าในหลักสุนทรียศาสตร์แห่งความงามในงานศิลปะและงานออกแบบ ปรัชญา แนวคิด ปัจจัยและองค์ประกอบที่ทำให้รับรู้ถึงความงามจากการได้เห็นภาพ การได้ยินเสียงหรือการได้สัมผัสพื้นผิว คุณค่าในความงามของงานศิลปะและงานออกแบบ พัฒนาการของความงามกับการออกแบบตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน สามารถถ่ายทอดความรู้สึกทางสุนทรีย์รส สร้างประสบการณ์ในวิชาชีพการออกแบบด้วยการวิพากษ์ วิจารณ์ วิเคราะห์เปรียบเทียบความงามสู่การทำงานออกแบบ
ศึกษา ความหมาย ประวัติ ความสำคัญ และคุณค่าของสุนทรยรียศาสตร์ ประสบการณ์ทางสุนทรียศาสตร์ แนวความคิดเกี่ยวกับความรู้สึกและการแสดงออก ปัญหาเกี่ยวกับการมีอยู่ของความงาม การประเมินความงาม ปัญหาการสร้างสรรค์ทางศิลปะ สุนทรียศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียนหรือทางอินเตอร์เนต
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
โดยอาจารย์ผู้สอนจะแจ้ง วัน - เวลาให้นักศึกษาทราบ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
โดยอาจารย์ผู้สอนจะแจ้ง วัน - เวลาให้นักศึกษาทราบ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต กตัญญูและเที่ยงธรรม
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบหน้าที่ มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จ
3. สุภาพอ่อนน้อม ถ่อมตน รู้จักกาละเทศะ ใจกว้าง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4. มีน้ำใจ มีจิตอาสา จิตสาธารณะเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
5. มีความพอเพียง
6. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต กตัญญูและเที่ยงธรรม
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบหน้าที่ มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จ
3. สุภาพอ่อนน้อม ถ่อมตน รู้จักกาละเทศะ ใจกว้าง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4. มีน้ำใจ มีจิตอาสา จิตสาธารณะเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
5. มีความพอเพียง
6. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.2.2 อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
1.2.3 สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับด้านคุณธรรม จริยธรรมเกี่ยวกับวิชาชีพในการครองตนและการศึกษาระหว่างสอน
1.2.2 อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
1.2.3 สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับด้านคุณธรรม จริยธรรมเกี่ยวกับวิชาชีพในการครองตนและการศึกษาระหว่างสอน
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 พฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและกิจกรรมที่สาขาฯจัดขึ้น
1.3.3 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเดี่ยวและกลุ่ม ร่วมกัน การแก้ปัญหา การเสียสละการบริหารจัดการงานส่วนรวม
1.3.4 มีการตกลงกับนักศีกษาในครั้งแรกของการเรียน เรื่องระเบียบการเข้าชั้นเรียน โดยหากว่ามาช้ากว่าที่กำหนด 15 นาที ถือว่ามาสาย เข้าชั้นเรียนสาย 3 ครั้งถือว่าขาด 1 ครั้ง หากขาดเกิน 3 ครั้ง หมดสิทธิ์สอบ
1.3.2 พฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและกิจกรรมที่สาขาฯจัดขึ้น
1.3.3 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเดี่ยวและกลุ่ม ร่วมกัน การแก้ปัญหา การเสียสละการบริหารจัดการงานส่วนรวม
1.3.4 มีการตกลงกับนักศีกษาในครั้งแรกของการเรียน เรื่องระเบียบการเข้าชั้นเรียน โดยหากว่ามาช้ากว่าที่กำหนด 15 นาที ถือว่ามาสาย เข้าชั้นเรียนสาย 3 ครั้งถือว่าขาด 1 ครั้ง หากขาดเกิน 3 ครั้ง หมดสิทธิ์สอบ
มีความรู้ความเข้าใจในหลักการสุนทรียศาสตร์ และสามารถประยุกต์ใช้ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ เพื่อนำมาใช้กับหลักคิดด้านสุนทรียศาสตร์ (1) - เนื้อหา ความหมาย การพัฒนาแนวความคิด รสนิยม ทัศนะ ปรัชญาด้านสุนทรียศาสตร์ทั้งในอดีตและ ปัจจุบันรวมทั้งประโยชน์ในการนำไปใช้ทำงานศิลปะและงานออกแบบ (2) - สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ปรับปรุงและ/หรือประเมิน องค์ประกอบต่างๆ ของการออกแบบกราฟิก และมัลติมีเดีย โดยใช้หลักสุนทรียศาสตร์ (3) - สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาสุนทรียศาสตร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (8)
2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่างด้วยสื่อการสอนมัลติมีเดีย
2.2.2 มอบหมายงานให้ไปปฏิบัติเพื่อฝึกทักษะ
2.2.3 เน้นการเรียนการสอนที่เป็น Active learning โดยการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.4 วิเคราะห์ วิพากษ์ผลงานของนักศึกษาแต่ละชิ้น เพื่อเป็นการเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน
2.2.2 มอบหมายงานให้ไปปฏิบัติเพื่อฝึกทักษะ
2.2.3 เน้นการเรียนการสอนที่เป็น Active learning โดยการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.4 วิเคราะห์ วิพากษ์ผลงานของนักศึกษาแต่ละชิ้น เพื่อเป็นการเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดเชิงสร้างสรรค์ พร้อมไปกับการคิดวิเคราะห์ตามหลักการและเหตุผล เพื่อให้การสร้างสรรค์นั้นตอบสนองการใช้งานจริง
1. พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น การเห็น การคิดวิเคราะห์ การเปรียบเทียบ ที่จะนำไปสู่การถ่ายทอดเป็นผลงานการวาดเส้น
2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลการวิเคราะห์ผลงานที่ทำขึ้นในรูปแบบของแฟ้มสะสมงาน
2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลการวิเคราะห์ผลงานที่ทำขึ้นในรูปแบบของแฟ้มสะสมงาน
3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2 ฝึกตอบคำถามในชั้นเรียนแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา ระดมสมองในการแก้ปัญหา
3.2.3 มอบหมายงานเดี่ยวและงานกลุ่ม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.2.2 ฝึกตอบคำถามในชั้นเรียนแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา ระดมสมองในการแก้ปัญหา
3.2.3 มอบหมายงานเดี่ยวและงานกลุ่ม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาได้ทำงานกับผู้อื่น และรายงานรายบุคคล
4.2.2 กำหนดหน้าที่รับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนให้ชัดเจน
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.2.2 กำหนดหน้าที่รับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนให้ชัดเจน
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ การมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1 ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยทำรายงานการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยทำรายงานการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3 ใช้ Power Piont บรรยาย
- ฝึกทักษะการวิเคราะห์และแก้ปัญหาในกรณีเหตุการณ์สมมติ
- การแนะนำเทคนิคการสืบค้นและคัดเลือกแหล่งข้อมูล
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3 ใช้ Power Piont บรรยาย
- ฝึกทักษะการวิเคราะห์และแก้ปัญหาในกรณีเหตุการณ์สมมติ
- การแนะนำเทคนิคการสืบค้นและคัดเลือกแหล่งข้อมูล
5.3.1 ตรวจสอบความถูกต้องของแนวคิด และวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้พื้นฐานความรู้ที่เรียนมา
5.3.2 จากผลการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.3 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.4 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 จากผลการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.3 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.4 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรม จริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BFACC403 | สุนทรียศาสตร์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|