อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ
Tourism and Hospitality Industry
เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ทราบถึงประโยชน์และความสำคัญ และองค์ประกอบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และสามารถการวางแผนในการพัฒนาการท่องเที่ยว
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจการท่องเที่ยวในยุคปัจจุบัน ที่มีการเปลี่ยนแปลง และกำลังเป็นที่นิยมในปัจจุบัน
ความหมาย ความสำคัญ วิวัฒนาการ ประโยชน์ และองค์ประกอบของธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ ทรัพยากรการท่องเที่ยว บทบาทหน้าที่และนโยบายของภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ ผลกระทบของอุตสาละบริการหกรรมการท่องเที่ยวและบริการในประเทศและต่างประเทศ การจัดการความปลอดภัยในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อนาคตทิศทางและแนวโน้มของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการในยุคโลกาภิวัตน์
วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสาขาการท่องเที่ยว โทร.0969897962
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการ พัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการ พัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2 วิธีการสอน
1.2.1 เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความมร่วมมือต่าง ๆ 1.2.2 อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน 1.2.3 สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
1.2.1 เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความมร่วมมือต่าง ๆ 1.2.2 อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน 1.2.3 สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา 1.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์ 1.3.3 ประเมินผลการจากกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย 1.3.4 เช็คชื่อการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ
1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา 1.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์ 1.3.3 ประเมินผลการจากกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย 1.3.4 เช็คชื่อการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1ความรู้ที่ต้องได้รับเกี่ยวกับความปลอดภัยในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการโรงแรมโดยมีเนื้อหาในรายละเอียดต่อไปนี้ 2.2.1 มีความรู้ในเรื่องความปลอดภัยในการเดินทางและในงานบริการและปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุอุบัติภัย แนวทางในการป้องกันอุบัติเหตุ 2.2.2 มีความรู้และเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การรักษาความปลอดภัยและสุขอนามัยในการทำงานและงานบริการ รูปแบบในการช่วยเหลือและฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จำลอง 2.2.3 มีความรู้ในการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.1ความรู้ที่ต้องได้รับเกี่ยวกับความปลอดภัยในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการโรงแรมโดยมีเนื้อหาในรายละเอียดต่อไปนี้ 2.2.1 มีความรู้ในเรื่องความปลอดภัยในการเดินทางและในงานบริการและปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุอุบัติภัย แนวทางในการป้องกันอุบัติเหตุ 2.2.2 มีความรู้และเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การรักษาความปลอดภัยและสุขอนามัยในการทำงานและงานบริการ รูปแบบในการช่วยเหลือและฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จำลอง 2.2.3 มีความรู้ในการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.2 วิธีการสอน
2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง 2.2.2 อภิปรายหลังการทำกิจกรรม หรือสถานการณ์จำลอง 2.2.3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า 2.2.4 การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีด้านการปฐมพยาบาล 2.2.5 การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลักในการเรียนรู้ (Problem – based Learning)
2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง 2.2.2 อภิปรายหลังการทำกิจกรรม หรือสถานการณ์จำลอง 2.2.3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า 2.2.4 การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีด้านการปฐมพยาบาล 2.2.5 การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลักในการเรียนรู้ (Problem – based Learning)
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาค 2.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
2.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาค 2.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีทักษะทางการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า 3.3.1 มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาอันนำมาซึ่งอุบัติเหตุต่าง ๆ ได้ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 3.3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3.3.3 มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ(ท่องเที่ยวและโรงแรม)
3.1ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีทักษะทางการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า 3.3.1 มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาอันนำมาซึ่งอุบัติเหตุต่าง ๆ ได้ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 3.3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3.3.3 มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ(ท่องเที่ยวและโรงแรม)
3.2 วิธีการสอน
3.2.1 ร่วมกิจกรรม สถานการณ์จำลอง บทบาทสมมุติแล้วอภิปรายกลุ่ม พร้อมกับรายงานทั้งด้านวาจาและการเขียน 3.2.2 ฝึกการเขียนรายงานการประสบอุบัติเหตุอย่างเป็นขั้นตอนและหาแนวทางแก้ไขได้ (Solving Problem)
3.2.1 ร่วมกิจกรรม สถานการณ์จำลอง บทบาทสมมุติแล้วอภิปรายกลุ่ม พร้อมกับรายงานทั้งด้านวาจาและการเขียน 3.2.2 ฝึกการเขียนรายงานการประสบอุบัติเหตุอย่างเป็นขั้นตอนและหาแนวทางแก้ไขได้ (Solving Problem)
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1 ปฏิภาณไหวพริบในการตอบข้อซักถามอาจารย์เมื่อมีสถานการณ์จำลองซึ่งเป็นข้อชี้วัดหนึ่งในการให้คะแนนปฏิบัติได้ 3.3.2 พิจารณาจากการทำงานรวมกลุ่ม การประสานงานและรักษาอำนาจหน้าที่ในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดี
3.3.1 ปฏิภาณไหวพริบในการตอบข้อซักถามอาจารย์เมื่อมีสถานการณ์จำลองซึ่งเป็นข้อชี้วัดหนึ่งในการให้คะแนนปฏิบัติได้ 3.3.2 พิจารณาจากการทำงานรวมกลุ่ม การประสานงานและรักษาอำนาจหน้าที่ในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดี
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 4.1.1 มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม 4.1.2 มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
4.1ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 4.1.1 มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม 4.1.2 มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
4.2 วิธีการสอน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มหรือสถานการณ์จำลอง แล้ววิเคราะห์หาสาเหตุ
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มหรือสถานการณ์จำลอง แล้ววิเคราะห์หาสาเหตุ
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1 นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด เกี่ยวกับการช่วยเหลือและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในงาน 4.3.2 ประเมินผลจากการทำงานเสร็จตรงเวลามีความรับผิดชอบทั้งต่ออาจารย์ และเพื่อนในกลุ่มได้
4.3.1 นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด เกี่ยวกับการช่วยเหลือและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในงาน 4.3.2 ประเมินผลจากการทำงานเสร็จตรงเวลามีความรับผิดชอบทั้งต่ออาจารย์ และเพื่อนในกลุ่มได้
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 5.1.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.5.2 มีความสามารถในการสื่อสารในเรื่องของความปลอดภัยกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม รวมทั้งการเลือกใช้คำศัพท์ได้อย่างถูกต้อง 5.5.3 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.5.4 มีความสามารถในการใช้ตัวเลขทางคณิตศาสตร์และสถิติในการทำงานได้
5.1พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 5.1.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.5.2 มีความสามารถในการสื่อสารในเรื่องของความปลอดภัยกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม รวมทั้งการเลือกใช้คำศัพท์ได้อย่างถูกต้อง 5.5.3 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.5.4 มีความสามารถในการใช้ตัวเลขทางคณิตศาสตร์และสถิติในการทำงานได้
5.2 วิธีการสอน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทางเว็บไซต์ แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย และตารางตัวเลข พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง 5.2.2 นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทางเว็บไซต์ แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย และตารางตัวเลข พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง 5.2.2 นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
5.3.1 ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1,2.1,1.4-2.6,3.2 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9, 17 | 30% 30% |
2 | 3.1,3.2,3.3,3.4,4.1,4.2,5.1,5.2,5.3,5.4 | การนำเสนองาน/การรายงาน | 8, 11,12,13 | 20% |
นิศา ศิลปเสรฐ. 2564. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รักษ์พงษ์ ขอลือ. 2566. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ. กรุงเทพฯ, ซีเอ็ดยูเคชั่น.
JOHN R. WALKER. 2016. EXPLORING THE HOSPITALITY INDUSTRY. GLOBAL EDITION.
รักษ์พงษ์ ขอลือ. 2566. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ. กรุงเทพฯ, ซีเอ็ดยูเคชั่น.
JOHN R. WALKER. 2016. EXPLORING THE HOSPITALITY INDUSTRY. GLOBAL EDITION.
เอกสารแนะนำการท่องเที่ยว, โปรชัวร์การท่องเที่ยว
แผนพัฒนาการท่องเที่ยว
แผนพัฒนาการท่องเที่ยว
ศึกษาข้อมูลกรณีศึกษาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวทางเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.ในวันแรกของการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจถึงการปรับปรุงรายวิชานี้จากการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ผ่านมา และประโยชน์จากข้อคิดเห็นของนักศึกษาต่อการพัฒนารายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนารายวิชาในช่วงปลายของภาคการศึกษา 2.ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล-คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ 3.ส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนการสอน และการพัฒนารายวิชาผ่านระบบการประเมิน
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนด้วยตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษา ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
1.การประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา การประเมินการสอนของตนเองและสรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป 2.การวิเคราะห์ในชั้นเรียน เพื่อพัฒนารูปแบบ วิธีการเรียนการสอน และวิธีการฝึกปฏิบัตินอกสถานที่ 3.การปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยและเหมาะสมกับรุ่นต่อไป
1.ให้อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ 2.(อาจ) ให้กรรมการทวนสอบ สุ่มตรวจสอบการให้คะแนนในรายวิชาหรือรายงานของผู้เรียน 3.เปรียบเทียบการให้คะแนนข้อสอบแต่ละข้อในรายวิชา ตามเกณฑ์ที่กำหนด 4.(อาจ) จัดทำข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชา (หรือกับสถาบันในเครือข่าย) 5.สำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามในข้อสอบจากผู้ใช้บัณฑิต เพื่อปรับมาตรฐานข้อสอบ
1.นำข้อคิดเห็นของนักศึกษาจากข้อ 1 มาประมวล เพื่อจัดกลุ่มเนื้อหาความรู้ที่ต้องปรับปรุง วิธีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และรูปแบบของการศึกษาการปฏิบัติงานนอกสถานที่ ผลจากการประมวลจะนำไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป 2.นำผลการประเมินการสอนของตนเองจากข้อ 2 มาจัดกลุ่มเทียบเคียงกับข้อคิดเห็นของนักศึกษา เพื่อพัฒนาเนื้อหาสาระให้ทันสมัย ปรับวิธีการเรียนการสอน และวิธีการประเมินผลให้ตรงกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง