ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ
Creative Thinking for Design
1.1 รู้และเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับแรงบันดาลใจ
1.2 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
1.3 รู้และเข้าใจทฤษฎีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมโนทัศน์
1.4 มีทักษะการสร้างแรงบันดาลใจในการออกแบบ
1.5 มีทักษะการคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ
1.6 มีทักษะการสร้างแผนภูมิมโนทัศน์
1.7 มีทักษะการสร้างกรอบแนวคิดเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน
1.2 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
1.3 รู้และเข้าใจทฤษฎีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมโนทัศน์
1.4 มีทักษะการสร้างแรงบันดาลใจในการออกแบบ
1.5 มีทักษะการคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ
1.6 มีทักษะการสร้างแผนภูมิมโนทัศน์
1.7 มีทักษะการสร้างกรอบแนวคิดเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ เป็นการเตรียมความพร้อมการสร้างกรอบแนวคิดเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน การนำความรู้ ความเข้าใจ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ ได้แก่ การออกแบบผลิตภัณฑ์ และโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ประเภท แรงบันดาลใจในการออกแบบ และความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการของความคิดสร้างสรรค์ เทคนิคในการใช้ความคิดสร้างสรรค์ การทำแผนผัง ความคิด และกระดานความคิด ในการกำหนดกรอบคิดสร้างสรรค์ผลงาน การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในงานออกแบบรูปทรง ลวดลาย การนำเสนอความคิดเป็นภาพ และ การนำไปประยุกต์ใช้ในงานออกแบบ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และจริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงเวลา
มีความรู้และเข้าใจวิธีการคิด ระบบการคิด กระบวนการคิด กระบวนทัศน์ทางการคิดเพื่อการออกแบบ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงาน Problem – based Learning
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการเขียนแบบ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
5.1.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.1.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะด้านการออกแบบผลงานและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติและงานสามมิติ
6.1.2 มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงาน
6.1.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม หรือด้านประโยชน์ใช้สอย
6.1.2 มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงาน
6.1.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม หรือด้านประโยชน์ใช้สอย
6.2.1 ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบ
6.2.2 การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
6.2.3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติสร้างผลงานสองมิติและสามมิติรวมทั้งนำเสนอผลงาน
6.2.2 การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
6.2.3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติสร้างผลงานสองมิติและสามมิติรวมทั้งนำเสนอผลงาน
6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมาย
6.3.2 แนวคิดในการออกแบบผลงาน
6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงาน
6.3.2 แนวคิดในการออกแบบผลงาน
6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ทักษะพิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 |
1 | BAACC405 | ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 | การปฏิบัติงานและผลงาน โครงงาน (Project-Based Learning) | ตลอดภาคการศึกษา | 60% |
2 | 2.3.1, 3.3.1 | สอบกลางภาค | 9 | 15% |
3 | 2.3.1, 3.3.1 | สอบปลายภาค | 17 | 15% |
4 | 1.3.1 | การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
• สังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
• แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
• ให้อาจารย์ที่ปรึกษาของนักศึกษาแจ้งผู้รับผิดชอบรายวิชา ในกรณีที่เกิดปัญหาของผู้เรียนเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนในรายวิชานี้
• ข้อเสนอแนะผ่านแบบสอบถามที่ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทำ
• การสังเกตการณ์การเรียนรู้
• ผลการปฏิบัติงานในชั้นเรียนเมื่อจบบทเรียน
• ผลการทำโครงการฯ (project ท้ายเทอมในรายวิชา)
• ทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการประเมินการสอนและผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
• ปรึกษาและสรุปทบทวนกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างผู้สอน
• สัมมนาการจัดการเรียนการสอนในระดับภาควิชา ร่วมกับผู้รับผิดชอบรายวิชาและผู้สอนในกลุ่มวิชาหลักสาขา
• วางแผนและดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
• บูรณาการร่วมกับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
• ในระหว่างกระบวนการสอน มีการทบทวนผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ โดยการสอบถามจากนักศึกษา อาจารย์ผู้สอน และแบบทดสอบย่อยในชั้นเรียน
• เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษา มีการสนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกลุ่มอาจารย์ผู้สอน และสนับสนุนให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบผลงานวิธีการให้คะแนน และพฤติกรรมในการเรียนรู้และส่งงาน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ควรมีการปรับปรุงรายละเอียดย่อยของรายวิชา
ตามผลการประชุมร่วมระหว่างผู้สอนเป็นรายปี และปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ
(จากผลการประชุมร่วมระหว่างผู้สอนและจากนักศึกษา) และผลการทวนสอบมาตรฐานสัมฤทธิ์