ปฏิบัติการถ่ายภาพสร้างสรรค์

Practice of Creative Photography

ด้านคุณธรรมจริยธรรม
- หลัก ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- รอง มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
ความรู้ 
- รอง มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญา และวัฒนธรรม
- รอง มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติ ในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา  
ทักษะทางปัญญา   
- รอง สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
- หลัก สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้
- หลัก มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน   
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เเละความรับผิดชอบ
- รอง มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- รอง สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- รอง สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะพิสัย
- หลัก มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน 
พัฒนาการถ่ายภาพดิจิทัลในสตูดิโอให้มากขึ้น
ปฏิบัติการวางแนวคิดสร้างสรรค์ในการถ่ายภาพ การจัดวางองค์ประกอบ การวางแผนการถ่ายภาพในสตูดิโอและกลางแจ้ง และการตกแต่งภาพถ่ายดิจิทัลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยสามารถนำไปใช้สื่อสารด้านดิจิทัลโฆษณา และประชาสัมพันธ์ออนไลน์
1) อาจารย์ประจํารายวิชาให้คําปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานของนักศึกษาผ่านทางเว็บไซต์และเครือข่ายสังคมออนไลน์
2) อาจารย์ประจํารายวิชาให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ โดยระบุ วัน เวลา ไว้ใน ตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน และให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม )เฉพาะรายที่ ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า
- ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชาสอน ให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อมสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชาสอน ให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
- มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม - มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา       
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ

  
1 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 2 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 3 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
- สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ - สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ - มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน หรือการจัดทำศิลปนิพนธ์ การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
- มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ - สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำ และผู้ตาม การเคารพสิทธิ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรม การแสดงออกในการนำเสนองาน ผลงานกลุ่มในชั้นเรียน และประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลข เพื่อการจัดการข้อมูล และการนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร 
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูล และตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย และการนำเสนอ
สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงาน และศิลปนิพนธ์ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริง โดยประเมินจากการปฏิบัติงาน และผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1.3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ 3.4 มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 6.1 สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
1 BAACD149 ปฏิบัติการถ่ายภาพสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ ตลอดภาคการศึกษา
2 ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ แบบร่างภาพถ่ายโฆษณา, การปฏิบัติงานกลุ่มและรายบุคคล การมีความรู้ในด้านอุปกรณ์ต่างๆ การรักษาลิขสิทธิ์สำหรับงานถ่ายภาพ ตลอดภาคการศึกษา
3 ทักษะทางปัญญา ประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม และการมีส่วนร่วมในการคิดและวางแผนสร้างสรรค์ผลงาน ประเมินจากผลงานการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานภาพถ่ายโฆษณา ตลอดภาคการศึกษา
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การทำงานเป็นทีม นำเสนอความคิด รับฟังความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคนิคและแนวความคิดในการสร้างสรรค์ผลงานภาพถ่ายโฆษณา เทคนิควิธีการนําเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา
6 ทักษะพิสัย ผลงานการสร้างสรรค์ภาพถ่ายโฆษณา ผลงานกลุ่ม รายบุคคล ตลอดภาคการศึกษา
The Digital Photography Book 
การจัดองค์ประกอบ สำหรับการถ่ายภาพ
จรรยาบรรณนักถ่ายภาพ กฎหมายลิขสิทธิ์ เอกสาร ตํารา เทคนิคการถ่ายภาพโฆษณา โปรแกรมตกแต่งภาพ Photoshop
เวปไซต์เกี่ยวกัับการถ่ายภาพ
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้ 1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้  ความตรงต่อเวลา  การแต่งกาย บุคลิกภาพ  คําพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม   การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน  ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้  แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน  จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา  การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้  ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้  ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้  ข้อเสนอแนะอื่นๆ เช่นและการประเมินความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการประกวดการถ่ายภาพและบรรยายพิเศษ 
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ที่ได้รับมอบหมาย ดําเนินการดังต่อไปนี้ 2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ ๑ 2.2 สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน ) โดยเพื่อนอาจารย์ (ในประเด็ นต่อไปนี้  ความตรงต่อเวลา  การแต่งกาย บุคลิกภาพ  คําพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม   การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน  ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน  ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้  แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน  จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา  การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 2.3ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้  ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน  ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน  ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป 
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้ 3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนําเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละ คาบการสอน   3.2 ประชุม  / การเรียนการสอนสําหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้สั มมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัด  ผลการศึกษาของนักศึกษา  ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา  ผลการประเมินการสอน  บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้  การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร  การประเมินโดยกรรมการประจําหลักสูตร หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายใน / ภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม  /ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้ง พิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกําหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษา ต่อไป ทั้งเนื้อหา ลําดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล ปรับปรุงรายวิชาและวิธีการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไป ตามข้อเสนอแนะตามข้อเห็นของนักศึกษา ๑ ดําเนินการทบทวนปรับปรุงรายวิชาในทุก ๕ ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของ หรือ ในกรณีที่พบปัญหา มีวิทยากรจากภายนอกมาบรรยายเสริม เพื่อรับประสบการณ์หรือสภาพปัญหาในการทํางานจริง ปรับหัวข้องาน ปฏิบัติที่มอบหมาย หรือปรับหัวข้อในโครงการประกวดภาพถ่ายให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน