วิศวกรรมยานยนต์
Automotive Engineering
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและปฎิบัติเกี่ยวกับ สมรรถนะเครื่องยนต์ แรงต้านการเคลื่อนที่ แรงฉุดลาก อัตราเร็วรอบเครื่องยนต์และรถยนต์ อัตราทดของเกียร์ การกระจายน้ำหนัก เสถียรภาพการทรงตัว อัตราเร่งและปฎิกิริยาโต้ตอบ ระบบบังคับเลี้ยว ระบบส่งถ่ายกำลัง ระบบเบรก ระบบรองรับและการสั่นสะเทือน หลักการอากาศพลศาสตร์ แรงต้านและแรงยก ผลของพื้นที่และรูปทรง การทดสอบในอุโมงค์ลม พลศาสตร์ของไหล
ไม่มี
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและปฎิบัติเกี่ยวกับ สมรรถนะเครื่องยนต์ แรงต้านการเคลื่อนที่ แรงฉุดลาก อัตราเร็วรอบเครื่องยนต์และรถยนต์ อัตราทดของเกียร์ การกระจายน้ำหนัก เสถียรภาพการทรงตัว อัตราเร่งและปฎิกิริยาโต้ตอบ ระบบบังคับเลี้ยว ระบบส่งถ่ายกำลัง ระบบเบรก ระบบรองรับและการสั่นสะเทือน หลักการอากาศพลศาสตร์ แรงต้านและแรงยก ผลของพื้นที่และรูปทรง การทดสอบในอุโมงค์ลม พลศาสตร์ของไหล
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัยตรงต่อเวลารับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคมมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้มีการปลูกฝังความรับผิดชอบให้นักศึกษาตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาการส่งงานตามกำหนดเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่มมีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่นเป็นต้น
ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียนการส่งงานตามกําหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรมการมีวินัยและพร้อมเพรียงของ นักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรปริมาณการกระทำทุจริตในการ สอบความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเนื้อหาของวิชาวิศวกรรมยานยนต์สามารถใช้ความรู้และทักษะในวิชาวิศวกรรมยานยนต์ในการประยุกต์ใช้ในงานจริงได้
เน้นหลักการทางทฤษฎีและการปฎิบัติทางวิศวกรรมยานยนต์เทคโนโลยีด้านยานยนต์
มีการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค และประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล
สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการสามารถคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมยานยนต์ได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมยานยนต์โดยใช้หลักการวิจัยการศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสารและการปฎิบัติการในชั้นเรียน
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียนการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ และการปฎิบัติที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมยานยนต์เป็นต้น
สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและผู้อื่น
ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็นเพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็น
ประเมินจากการสังเกต และการถามตอบ การทำงานเป็นกลุ่ม
มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการปฎิบัติการเกี่ยวข้องกับวิศวกรรมยานยนต์
ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆการอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียนและการปฎิบัติการที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมยานยนต์
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2,3,และ 5 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 8 และ17 | 30% 30% |
2 | 1, 2, 3 และ 5 | การศึกษาค้นคว้า การทำงานกลุ่มและผลงาน การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 30 % |
3 | 1 และ 3.1 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
วิศวกรรมยานยนต์ ธีรยุทธ สุวรรณประทีป
สามารถดาวโหลดจากเว็บไซท์ต่างๆบทความทางวิชาการ หนังสือและตำราอื่นๆ
สามารถดาวโหลดจากเว็บไซท์ต่างๆบทความทางวิชาการ หนังสือและตำราอื่นๆ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในห้องเรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีสรุปและวางแผนการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ