การประมวลผลภาพและการประยุกต์ใช้งาน

Image Processing and Applications

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับระบบการประมวลผลภาพ
2. เพื่อให้เข้าใจถึงกระบวนการ การมองเห็นภาพ
3. เพื่อให้เข้าใจแบบจำลองคณิตศาสตร์ของภาพ
4. เพื่อให้เข้าใจลักษณะของการสุ่ม การความนไตซ์ระบบภาพ 2 มิติ ระบบภาพ 3 มิติ
5. เพื่อให้เข้าใจวิธีการแปลงสัญญาณภาพ
6. เข้าใจวิธีการแปลงฟูเรียร์ของภาพ
7. เข้าใจวิธีการเพิ่มคุณภาพของภาพ 
8. เข้าใจวิธีการ การกรองสัญญาณภาพ
9.  เข้าใจวิธีการ การเข้ารหัสสัญญาณภาพเบื้องต้น
10. เข้าใจวิธีการ การวิเคราะห์ภาพและการประยุกต์ใช้งาน
 
     เพื่อให้นักศึกษาได้ทำการศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับระบบการประมวลผลภาพ การมองเห็น แบบจำลองคณิตศาสตร์ของภาพ การสุ่ม การควอนไตซ์ ระบบภาพ 2 มิติ ระบบภาพ 3 มิติ การแปลงสัญญาณภาพ การแปลงฟูเรียร์ การเพิ่มคุณภาพของภาพ การกรองสัญญาณภาพ การเข้ารหัสสัญญษณเบื้องต้น การวิเคราะห์ภาพ และการประยุกตืใช้งาน
Study and practice of image processing ; mathematical model of image; random quantized system’s 2D, 3D, the image codecs Fourier transform; increasing the quality of image; encoding signal initial, analysis and applications.
 
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับระบบการประมวลผลภาพ การมองเห็น แบบจำลองคณิตศาสตร์ของภาพ การสุ่ม การควอนไตซ์ ระบบภาพ 2 มิติ ระบบภาพ 3 มิติ การแปลงสัญญาณภาพ การแปลงฟูเรียร์ การเพิ่มคุณภาพของภาพ การกรองสัญญาณภาพ การเข้ารหัสสัญญษณเบื้องต้น การวิเคราะห์ภาพ และการประยุกตืใช้งาน
Study and practice of image processing ; mathematical model of image; random quantized system’s 2D, 3D, the image codecs Fourier transform; increasing the quality of image; encoding signal initial, analysis and applications.
1
1. คุณธรรม จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.2 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.4 การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งการเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
วิธีการสอน 

1.2.1 อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่นการตรงต่อเวลา การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น ฯลฯ
1.2.2 ใช้ระบบการสอนแบบการสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีโอกาสตั้งคำถาม ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่น เรื่องความมีวินัย ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ฯลฯ
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 ประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาที่แสดงออกในชั้นเรียน ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม
1.3.2 ประเมินการมีวินัยและความรับผิดชอบของนักศึกษาต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การจัดส่งรายงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดถึงการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
- มีความรู้และเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับเพื่อให้นักศึกษาได้ทำการศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับระบบการประมวลผลภาพ การมองเห็น แบบจำลองคณิตศาสตร์ของภาพ การสุ่ม การควอนไตซ์ ระบบภาพ 2 มิติ ระบบภาพ 3 มิติ การแปลงสัญญาณภาพ การแปลงฟูเรียร์ การเพิ่มคุณภาพของภาพ การกรองสัญญาณภาพ การเข้ารหัสสัญญษณเบื้องต้น การวิเคราะห์ภาพ และการประยุกตืใช้งาน
Study and practice of image processing ; mathematical model of image; random quantized system’s 2D, 3D, the image codecs Fourier transform; increasing the quality of image; encoding signal initial, analysis and applications.
2.2 วิธีการสอน
บรรยาย อภิปราย การฝึกเขียนโปรแกรมสำหรับการประมวลผลภาพ การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1   การสอบกลางภาค
2.3.2   การสอบปลายภาค
2.3.3   การทำรายงานกลุ่ม
2.3.4   การมีส่วนร่วมในการเรียน และการตรงต่อเวลา
3. ทักษะทางปัญญา      3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
              นักศึกษารู้จักคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเองมีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2 วิธีการสอน
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  สถานการณ์จำลองในการประยุกต์ใช้การวัดและเครื่องมือทางไฟฟ้า
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้การประมวลผลภาพในงานอุตสาหกรรม
 3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ  4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2 วิธีการสอน
       4.2.1   จัดกิจกรรมในชั้นเรียนเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสมีปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาที่เรียนด้วยกัน
       4.2.2   มอบหมายรายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มรายงานตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย
       4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1   ทักษะด้านการคำนวณตามที่ปรากฏในบทเรียนต่างๆ
5.1.2  ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   ทักษะในการแก้ไขปัญหาโดยการประยุกต์ใช้หลักการต่างๆของการประมวลผลภาพต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.1.4   ทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
5.2 วิธีการสอน
5.2.1   บรรยายโดยอาศัยเอกสารประกอบการสอน/เอกสารนำเสนอในการสอน และยกตัวอย่างโจทย์รวมถึงวิธีการแก้ปัญหา
5.2.2   สอนโดยการเขียนโปรแกรมแมทแล็ปประกอบภาคบรรยาย
5.2.3   แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
5.2.4   การมอบหมายรายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการจัดทำรายงาน รวมถึงต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น Power point ฯลฯ
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1   ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
5.3.2   ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
5.3.4   ประเมินทักษะในการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศจากเนื้อหาของเอกสารรายงาน
5.3.5   ประเมินทักษะด้านการคำนวณและแก้ปัญหาต่างๆดังกล่าวข้างต้นด้วยการสอบกลางภาคและปลายภาค
1. ผลจากการเขียนโปรแกรมในภาคปฏิบัติ เพื่อประมวลผลภาพตามเนื้อหาที่เรียน
2. ผลการประยุกต์ใช้งานโปรแกรมประมวลผลภาพ สำหรับงานต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
1. สอนโดยการเขียนโปรแกรม MATLAB โดยใช้เครื่องตั้งโต๊ะ 
2. การให้โจทย์สำหรับโปรเจคย่อย
1.ประเมินผลตามงานที่ไดรับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEL216 การประมวลผลภาพและการประยุกต์ใช้งาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1-6 บทที่ 1-12 บทที่ 7-12 สอบกลางภาค งานพิเศษ สอบปลายภาค 8 13 17 25% 30% 25%
2 บทที่ 1-12 การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงาน ตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 บทที่ 1-12 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
    1)  ผศ.ดร.ศันสนีย์ เอื้อพันธ์วิริยะกุล, “การประมวลผลภาพดิจิตอล,” ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: เชียงใหม่, 2555, หน้า 1-179.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
แบบสอบถามหลังการเรียนการสอน
มีแบบประเมินจากวิชาการ
ทำเป็นเล่มโครงการให้ นักศึกษา