การวางแผนภาษีอากร
Tax Planning
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมาย ไม่ขัดต่อจริยธรรม และมีควมรับผิดชอบต่อสังคม ได้แก่ ภาษีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมาย ไม่ขัดต่อจริยธรรม และมีควมรับผิดชอบต่อสังคม
ศึกษาหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมาย ไม่ขัดต่อจริยธรรม และมีควมรับผิดชอบต่อสังคม
อาจารย์ผู้สอนกำหนดเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาและแบบฝึกหัดเป็นเวลา 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เป็นอย่างน้อย
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพสามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
- บรรยายโดยใช้กรณีศึกษาที่มีสาระเกี่ยวข้องกับความสำคัญของคุณค่าแห่งวิชาชีพ โทษของการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี
-ให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายถึงผลกระทบของการขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ โดยการศึกษาค้นคว้าและยกตัวอย่างในการอภิปราย
- ความมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
- ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ใช้เป็นตัวอย่างในการอภิปรายและใช้เป็นแบบทดสอบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมายได้แก่ ภาษีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ
2.2.1 อาจารย์ผู้สอนบรรยายเนื้อหา และยกตัวอย่างกรณีศึกษา มอบหมายแบบฝึกหัด
2.2.2 ใช้วิธีการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางประกอบด้วยโดยให้ผู้เรียนร่วมอภิปรายจากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในเนื้อหาที่กำหนดไว้ล่วงหน้า
2.2.3 การเรียนรู้จากเอกสารจริง โดยมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษากรณีศึกษาตามประเภทภาษีต่างๆ
2.2.3 การเรียนรู้จากเอกสารจริง โดยมอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษากรณีศึกษาตามประเภทภาษีต่างๆ
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
- ประเมินจากแบบฝึกหัดและกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค
ความสามารถในการวิเคราะห์หลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษี การหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมาย ไม่ขัดต่อจริยธรรม และมีควมรับผิดชอบต่อสังคม
- มอบหมายแบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษาและนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
- อภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับแบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษา
- รายงานจากการนำเสนอแบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษา
- การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ในชั้นเรียน
- ผลการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- เสริมสร้างความสามารถในการทำงานเป็นทีม มีการแบ่งแยกหน้าที่อย่างชัดเจน
- เสริมสร้างทักษะในการติดต่อประสานงานเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ได้รับมอบหมาย
- เสริมสร้างความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- เสริมสร้างความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
จัดกลุ่มนักศึกษาในชั้นเรียน และมอบหมายงานในแต่ละบทเรียน
- ประเมินจากการส่งงานตามกำหนด
- ประเมินจากการรายงานผลความก้าวหน้างานที่มอบหมายเป็นระยะ
- ประเมินจากผลการประเมินตนเองและกลุ่ม
- สามารถคำนวณภาษีที่ต้องชำระต่อสำนักงานสรรพากรในกรณีต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง และแม่นยำ
- สามารถคำนวณภาษีกรณีต่าง ๆ ในโปรแกรมสำเร็จรูปที่ทางสรรพากรกำหนดได้อย่างถูกต้อง
- จัดให้ทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบย่อยรายบุคคล
- มอบหมายกรณีศึกษารายกลุ่ม
- ประเมินจากผลการทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบย่อย
- ประเมินผลจากการวิเคราะห์และนำเสนอกรณีศึกษา
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|