ปฏิบัติการผลิตงานออกแบบกราฟิก

Practice of Graphic Design

- เพื่อให้นักศึกษามีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และมีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
- เพื่อให้นักศึกษามีความรอบรู้ในด้านการผลิตงานออกแบบกราฟิก และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง และเพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านการผลิตงานออกแบบกราฟิก
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ โดยมีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริกในการสร้างสรรค์ผลงาน และสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
- เพื่อให้นึกศึกษามีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความเห็นที่แตกต่าง
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน หรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางการผลิตงานออกแบบกราฟิกในการสร้างสรรค์ผลงานตน
เปิดใช้สอนครั้งแรก
ฝึกปฏิบัติการวางแนวความคิดสร้างสรรค์การออกแบบกราฟิกประเภทต่างๆ การออกแบบตัวอักษร การออกแบบสัญลักษณ์ การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยนำไปสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบสื่อสารตามความต้องการของตลาดในยุคดิจิทัล ในระบบออนไลน์และออฟไลน์
 
Practice defining conceptual ideas for different types of graphic design; designing fonts, symbols, printed media with computer software; creating communication design to serve market needs in the digital age, including online and offline
อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า)
1(1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (●)
1(2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น (○)
1(1) บรรยาย, มอบหมายงานรายบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ โครงงาน/รายงาน), มอบหมายรายงานกลุ่ม
1(2) กิจกรรมนำเสนอ
1(1) ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน, การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง, ผลงานรายบุคคล (เอกสาร/รายงาน/โครงงาน), ผลงานกลุ่ม
1(2) ประเมินจากการนำเสนอ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมนำเสนอ 
2(1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง (○)
2(4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา (○)
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ โครงงาน รายงาน), มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร รายงาน โครงงาน), ประเมินจากการสอบปฏิบัติ, ประเมินจากผลงานกลุ่ม
3.2: สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (○)
3.3: สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ (●)
3.4: มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริกในการสร้างสรรค์ผลงาน (●)
 
✓ ฝึกการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ✓ ฝึกปฏิบัติ การร่วมแสดงความคิดเห็น ✓ การนำเสนอข้อมูล
✓ ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ✓ ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
 
4.1: มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (○)
✓ มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ✓ ฝึกปฏิบัติ ✓ ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและความรับผิดชอบ
✓ ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ✓ ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ✓ ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
5.1: สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (●) 5.2: สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (○)
✓ ฝึกการการร่วมแสดงความคิดเห็น ✓ ฝึกปฏิบัติ ✓ การนำเสนอข้อมูล
✓ ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ✓ ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
6.1: สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ ในการสร้างสรรค์ผลงานตน (●)
✓ มอบหมายงานบุคคล  ✓ นำเสนอข้อมูล ✓ ฝึกปฏิบัติ
✓ ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ✓ ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1
1 BAACD151 ปฏิบัติการผลิตงานออกแบบกราฟิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2 การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการ เรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติ งานในสถานการณ์จําลอง และ สถานการณ์จริง 1-16 5
2 1.1, 1.2 การส่งงานตามเวลาทีกําหนด ความซือสัตย์ในการทํางานและการอ้างอิง 1-16 5
3 2.1, 2.4, 3.2, 3.3, 3.4, 5.1, 5.2, 6.1 ผลงานรายบุคคล (งานสร้างแนวคิด ในการออกแบบกราฟก , การลอกเลียน แบบผลงานออกแบบกราฟก , การ ออกแบบตราสัญลักษณ์, การ ออกแบบลวดลายกราฟก , การ ออกแบบกราฟก ในสํานักงาน, การ ออกแบบโปสเตอร์ ) 1-16 60
4 3.2, 3.3, 3.4, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1 การทำโครงงาน การทำรายงาน และการนำเสนอ 17 10
6 3.2, 3.3, 3.4, 6.1 การสอบปฏิบัติ (สอบปฏิบัติงาน ออกแบบกราฟก ทัง สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 9,17 20
1.1     ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้
ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
 
1.2     ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้
ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ
2.1     ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ 1
2.2     สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน ในประเด็นต่อไปนี้
ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
2.3     ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้
ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
3.1     ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละคาบการสอน
3.2     ประชุม / สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้ - ผลการศึกษาของนักศึกษา ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ผลการประเมินการสอน บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายใน/ภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม / ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้งพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษาต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล