เตรียมสหกิจศึกษาและการฝึกงานทางบริหารธุรกิจ
Pre Co-operative Education and Job Internship in Business Management
ศึกษาและฝึกทักษะการปฏิบัติเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาหรือการฝึกงานทางบริหารธุรกิจ โดยมุ่งเน้นฝึกทักษะในด้านความรู้เกี่ยวกับงานสหกิจศึกษาหรือการฝึกงานทางบริหารธุรกิจ ทักษะด้านการสื่อสาร ทักษะในการทำงานเป็นทีม การปรับตัวเข้ากับสังคมการทำงาน ด้านบุคลิกภาพและมารยาท ด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ
การปฏิบัติสหกิจศึกษาหรือการฝึกงาน เป็นการเสริมทักษะและประสบการณ์ให้นักศึกษามีความพร้อมสำหรับการทำงานทั้งในระหว่างที่ศึกษาและหลังสำเร็จการศึกษา โดยนักศึกษาจะได้นำความรู้จากภาคทฤษฎีไปสู่การฝึกการปฏิบัติตามระยะเวลาที่กำหนด ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จะช่วยให้นักศึกษาเห็นภาพที่แท้จริงในการทำงาน ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษาทราบความต้องการในการทำงานที่แท้จริงทั้งของตนเองและหน่วยงาน/สถานประกอบการ อีกทั้งจะทำให้นักศึกษาตระหนักถึงภาระหน้าที่รับผิดชอบต่อตนเอง หลักสูตรสาขาวิชา มหาวิทยาลัย และหน่วยงาน /สถานประกอบการ และเป็นการเพิ่มทักษะ ความรู้ที่จำเป็นก่อนการทำงานจริง การฝึกระเบียบวินัย ความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย การทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมองค์กรของหน่วยงาน/สถานประกอบการได้
การพัฒนาปรับปรุงรายวิชาเพื่อเป็นรายวิชาที่นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษามาทั้งหมด ประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ นักศึกษาจะได้รับประสบการณ์ตรงจากการทำงาน ทำให้มีการพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวังอย่างชัดเจน ซึ่งถือว่าเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาที่จะทำงานในวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อสำเร็จการศึกษา นอกจากนั้น หลักสูตร/มหาวิทยาลัยสามารถใช้เป็นข้อมูลในการจัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตได้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานหรือผู้ใช้บัณฑิต
ศึกษาและฝึกทักษะการปฏิบัติเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาหรือการฝึกงานทางบริหารธุรกิจ โดยมุ่งเน้นฝึกทักษะในด้านความรู้เกี่ยวกับงานสหกิจศึกษาหรือการฝึกงานทางบริหารธุรกิจ ทักษะด้านการสื่อสาร ทักษะในการทำงานเป็นทีม การปรับตัวเข้ากับสังคมการทำงาน ด้านบุคลิกภาพและมารยาท ด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดตาราง กำหนดวัน เวลา ในการให้คำปรึกษา (Office Hour) เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม รวมจำนวน 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ คือในวันพุธ พฤหัสบดี และศุกร์ ในช่วงเวลา 12:00 – 13:00 ณ ห้องพักอาจารย์ชั้น 2 สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ และนักศึกษาสามารถขอคำปรึกษาผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์โดยตรงกับอาจารย์ผู้สอนได้ตลอดเวลา
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม ดังนั้น อาจารย์พยายามสอดแทรกเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่อไปนี้ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ ที่ศึกษา รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมตามที่ระบุไว้ดังนี้ 1. มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม การศึกษาแนวคิด หลักการสหกิจศึกษาและบัณฑิตที่พึ่งประสงค์ของสถานประกอบการ จะทำให้ผู้เรียนเข้าใจวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติสหกิจศึกษา เข้าใจถึงหลักการ “ครองตน ครองคน และครองงาน” ซึ่งประกอบด้วย การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบ การประหยัดและเก็บออม รู้จักใช้ชีวิตการทำงานตามควรแห่งฐานะ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและรู้จักทรัพย์สินของหน่วยงานให้เป็นประโยชน์และประหยัด 2. มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวิจัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคมผู้สอนสอดแทรกให้ผู้เรียนตระหนักถึงเหตุผล ที่มา และคุณค่าคุณประโยชน์ของกฎระเบียบที่มีต่อบุคคล และส่วนรวม การประพฤติปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ฝึกให้ผู้เรียนประพฤติปฏิบัติตามกฎระเบียบ จนเกิดเป็นคุณลักษณะประจำตัวที่ควบคุมตนเองให้ประพฤติตามกฎและระเบียบ การปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม ดังนั้น อาจารย์พยายามสอดแทรกเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่อไปนี้ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ ที่ศึกษา รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมตามที่ระบุไว้ดังนี้ 1. มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม การศึกษาแนวคิด หลักการสหกิจศึกษาและบัณฑิตที่พึ่งประสงค์ของสถานประกอบการ จะทำให้ผู้เรียนเข้าใจวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติสหกิจศึกษา เข้าใจถึงหลักการ “ครองตน ครองคน และครองงาน” ซึ่งประกอบด้วย การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบ การประหยัดและเก็บออม รู้จักใช้ชีวิตการทำงานตามควรแห่งฐานะ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและรู้จักทรัพย์สินของหน่วยงานให้เป็นประโยชน์และประหยัด 2. มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวิจัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคมผู้สอนสอดแทรกให้ผู้เรียนตระหนักถึงเหตุผล ที่มา และคุณค่าคุณประโยชน์ของกฎระเบียบที่มีต่อบุคคล และส่วนรวม การประพฤติปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ฝึกให้ผู้เรียนประพฤติปฏิบัติตามกฎระเบียบ จนเกิดเป็นคุณลักษณะประจำตัวที่ควบคุมตนเองให้ประพฤติตามกฎและระเบียบ การปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
1.2 วิธีการสอน
1. จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมการศึกษาให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจ และตระหนักในเหตุผลที่มา คุณค่าคุณประโยชน์ของกฎระเบียบที่มีต่อบุคคล สังคมส่วนรวม และคุณค่าประโยชน์ของการประพฤติตามกฎระเบียบ 2. ฝึกให้ผู้เรียนประพฤติตามกฎระเบียบต่างๆ จากสถานศึกษาที่ง่ายหรือทั่วไปไปสู่ที่ยากละเอียดอ่อนมากขึ้น จนเกิดความเคยชินเป็นอุปนิสัยหรือคุณลักษณะประจำที่จะควบคุมตนเองให้ประพฤติตามกฎระเบียบได้ด้วยตนเอง เป็นต้นว่า ในเรื่อง การแต่งกาย ระเบียบการเข้าชั้นเรียน และการปฏิบัติตัวในการสอบ การแสดงความเคารพครูอาจารย์ การตรงต่อเวลา การปฏิบัติตามคำสั่งสอน เช่น การทำการบ้าน การส่งผลงานในบทเรียน ฯลฯ การปฏิบัติตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย การรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบในห้องเรียน การทิ้งขยะเป็นที่ 3. จัดให้มีการชมเชย ยกย่อง สรรเสริญนักเรียนเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มที่เป็นผู้ประพฤติตามกฎระเบียบ ได้เป็นอย่างดี การฝึกผู้เรียนให้ประพฤติตามกฎระเบียบจนเกิดเป็นอุปนิสัย สามารถควบคุมตนเองให้ประพฤติตามกฎระเบียบได้ด้วยตนเอง
1. จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมการศึกษาให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจ และตระหนักในเหตุผลที่มา คุณค่าคุณประโยชน์ของกฎระเบียบที่มีต่อบุคคล สังคมส่วนรวม และคุณค่าประโยชน์ของการประพฤติตามกฎระเบียบ 2. ฝึกให้ผู้เรียนประพฤติตามกฎระเบียบต่างๆ จากสถานศึกษาที่ง่ายหรือทั่วไปไปสู่ที่ยากละเอียดอ่อนมากขึ้น จนเกิดความเคยชินเป็นอุปนิสัยหรือคุณลักษณะประจำที่จะควบคุมตนเองให้ประพฤติตามกฎระเบียบได้ด้วยตนเอง เป็นต้นว่า ในเรื่อง การแต่งกาย ระเบียบการเข้าชั้นเรียน และการปฏิบัติตัวในการสอบ การแสดงความเคารพครูอาจารย์ การตรงต่อเวลา การปฏิบัติตามคำสั่งสอน เช่น การทำการบ้าน การส่งผลงานในบทเรียน ฯลฯ การปฏิบัติตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย การรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบในห้องเรียน การทิ้งขยะเป็นที่ 3. จัดให้มีการชมเชย ยกย่อง สรรเสริญนักเรียนเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มที่เป็นผู้ประพฤติตามกฎระเบียบ ได้เป็นอย่างดี การฝึกผู้เรียนให้ประพฤติตามกฎระเบียบจนเกิดเป็นอุปนิสัย สามารถควบคุมตนเองให้ประพฤติตามกฎระเบียบได้ด้วยตนเอง
1.3 วิธีการประเมินผล
1. พฤติกรรมการเข้าห้องเรียน การแต่งกาย และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงต่อเวลา 2. มีข้อมูลและการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องเหมาะสม และเป็นจริง 3. ประเมินผลวิธีการนำเสนองาน
1. พฤติกรรมการเข้าห้องเรียน การแต่งกาย และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงต่อเวลา 2. มีข้อมูลและการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องเหมาะสม และเป็นจริง 3. ประเมินผลวิธีการนำเสนองาน
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2 วิธีการสอน
1. บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การซักถาม การมอบหมายงาน การใช้ซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับฐานข้อมูล เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การซักถาม การมอบหมายงาน การใช้ซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับฐานข้อมูล เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3 วิธีการประเมินผล
1. การติดตั้งและใช้งานซอฟท์แวร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2. การมอบหมายงานกลุ่ม และการนำเสนอรายงาน และการวิเคราะห์นักศึกษา
1. การติดตั้งและใช้งานซอฟท์แวร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2. การมอบหมายงานกลุ่ม และการนำเสนอรายงาน และการวิเคราะห์นักศึกษา
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ 2. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาทางธุรกิจได้อย่างเหมาะสม
1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ 2. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาทางธุรกิจได้อย่างเหมาะสม
3.2 วิธีการสอน
1. อภิปรายกลุ่ม นำเสนองานหน้าชั้นเรียน 2. ระดับความคิดและความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณีศึกษา 3. สังเกตพฤติกรรมกลุ่มและบุคคล
1. อภิปรายกลุ่ม นำเสนองานหน้าชั้นเรียน 2. ระดับความคิดและความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณีศึกษา 3. สังเกตพฤติกรรมกลุ่มและบุคคล
3.3 วิธีการประเมินผล
1. ประเมินจากสภาพจริงจากผลงาน 2. พิจารณาจากรายงาน ใบงานและอภิปราย 3. บันทึกสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น 4. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ
1. ประเมินจากสภาพจริงจากผลงาน 2. พิจารณาจากรายงาน ใบงานและอภิปราย 3. บันทึกสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น 4. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม
มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม
4.2 วิธีการสอน
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการทำใบงานร่วมกัน 2. การมอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการทำใบงานร่วมกัน 2. การมอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
4.3 วิธีการประเมินผล
1. การประเมินตนเองและเพื่อนร่วมชั้น ตามรูปแบบหรือฟอร์มที่กำหนด 2. รายงานที่นำเสนอและพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 3. ความตรงต่อเวลาในการนำเสนอ การส่งมอบงานที่ได้รับมอบหมาย
1. การประเมินตนเองและเพื่อนร่วมชั้น ตามรูปแบบหรือฟอร์มที่กำหนด 2. รายงานที่นำเสนอและพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 3. ความตรงต่อเวลาในการนำเสนอ การส่งมอบงานที่ได้รับมอบหมาย
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
1. ติดตั้ง และใช้โปรแกรม เทคโนโลสารสนเทศ 2. ใช้งาน และทดสอบการปฏิบัติงานจริงกับโปรแกรม
1. ติดตั้ง และใช้โปรแกรม เทคโนโลสารสนเทศ 2. ใช้งาน และทดสอบการปฏิบัติงานจริงกับโปรแกรม
5.3 วิธีการประเมินผล
1. การจัดทำรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิราย
1. การจัดทำรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิราย
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
ความรู้พื้นฐานเพื่อนำไปสู่การมีทักษะในการพัฒนาศักยภาพในการเป็นผู้ทำงานในหน่วยธุรกิจ หรือประกอบธุรกิจ
ความรู้พื้นฐานเพื่อนำไปสู่การมีทักษะในการพัฒนาศักยภาพในการเป็นผู้ทำงานในหน่วยธุรกิจ หรือประกอบธุรกิจ
6.2 วิธีการสอน
ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสภาพการทำงานจริง และเชิญวิทยากร
ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสภาพการทำงานจริง และเชิญวิทยากร
6.3 วิธีการประเมินผล
สังเกตุพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
สังเกตุพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ(HANDS-ON) | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | BBACC114 | เตรียมสหกิจศึกษาและการฝึกงานทางบริหารธุรกิจ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | คุณธรรมจริยธรรม | 1. พฤติกรรมการเข้าห้องเรียน การแต่งกาย และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงต่อเวลา 2. มีข้อมูลและการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องเหมาะสม และเป็นจริง 3. ประเมินผลวิธีการนำเสนองาน | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
2 | สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | 2. การมอบหมายงานกลุ่ม และการนำเสนอรายงาน และการวิเคราะห์นักศึกษา | สัปดาห์ที่ 6, 9 | 10% |
3 | 1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ 2. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาทางธุรกิจได้อย่างเหมาะสม | 1. ประเมินจากสภาพจริงจากผลงาน 2. พิจารณาจากรายงาน ใบงานและอภิปราย 3. บันทึกสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น 4. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
4 | มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม | 1. การประเมินตนเองและเพื่อนร่วมชั้น ตามรูปแบบหรือฟอร์มที่กำหนด 2. รายงานที่นำเสนอและพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 3. ความตรงต่อเวลาในการนำเสนอ การส่งมอบงานที่ได้รับมอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
5 | สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม | การทำงานกลุ่มและมีการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม | สัปดาห์ที่ 7, 8, 9 | 20% |
6 | ความรู้พื้นฐานเพื่อนำไปสู่การมีทักษะในการพัฒนาศักยภาพในการเป็นผู้ทำงานในหน่วยธุรกิจ หรือประกอบธุรกิจ | ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสภาพการทำงานจริง และเชิญวิทยากร | สัปดาห์ที่ 14, 15 | 20% |
ชรัตน์ รุ่งเรืองศิลป์. (2541). คู่มือการประกอบธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพ์สวย จำกัด.
ลำดวน จาดใจดี. (2545). การสมัครงานและการสอบสัมภาษณ์. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนพล วิทยาการ จำกัด.
คูมือสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
เอกสารประกอบการประกอบการฝึกอบรมคณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษา สมาคมสหกิจศึกษาไทย
เว็บไซด์ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลวิชา
ในการประเมินประสิทธิผลในรายวิชามีดังนี้
1. คุณภาพงานและผลการสอบของนักศึกษา
2. การมีส่วนร่วมกิจกรรมระหว่างเรียน
3. สังเกตุปฏิกิริยาของนักศึกษาที่มีต่ออาจารย์
1. การสนทนากลุ่มและการตอบประเด็นซักถามระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอนตามประเด็นที่มหาวิทยาลัยกำหนด
3. สังเกตุพฤติกรรมกลุ่มและรายบุคคล
ในระหวา่งกิจกรรมการเรียนการสอน ได้มีการทวนสอบโดยอาจารย์ผู้สอนพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหาแนวการสอนและการประเมินผล ให้เป็นไปตามระเบียบการวัดผลของมหาวิทยาลัย
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาของนักศึกษาไม้มีการวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดรายวิชา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น
1. ปรับปรุงแนวการสอนและพัฒนาวิธีการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
2. ประสานงานศุนย์สหกิจศึกษาในการดำเนินงานกิจกรรมเตรียมสหกิจศึกษา
3. ประสานอาจารย์ต่างสาขาทีมีทักษะความชำนาญเฉพาะด้าน เช่น ภาษาอังกฤษ และคอมพิวเตอร์
4. วางแผนปฏิบัติงานในรายวิชาเพื่อพัฒนาทักษะคุณลักษณะของนักศึกษา