การออกแบบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

Eco-friendly Design

1.1 เพื่อให้รู้และเข้าใจความหมาย แนวคิด และความสำคัญของการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
   1.2 เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม
   1.3  เพื่อให้รู้และเข้าใจวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์และการประเมินวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
   1.4  เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ ฉลากสีเขียว การตลาดสีเขียว และผู้บริโภคสีเขียว
   1.5  เพื่อประยุกต์หลักการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อมในงานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
   1.6  เพื่อให้มีความตระหนักถึงคุณค่าของการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบที่มิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ทางด้านการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อประยุกต์ใช้ในงานออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในชั้นเรียนและออนไลน์ผ่านโปรแกรม Ms Teams รวมถึงในรายวิชาอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาความหมาย แนวคิด และความสำคัญของการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์สีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์และการประเมินวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ฉลากสีเขียว การตลาดสีเขียวและผู้บริโภคสีเขียว การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ประยุกต์ใช้ในสังคมยุคปัจจุบัน
               Study definition, concepts, and importance of eco-friendly design; green product; product life cycle and assessment; green label; green marketing and consumer; environmental design for today's society.
   3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งรายละเอียดในการให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน  
   3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3) มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
1) บรรยายในชั้นเรียนหรือออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams และสอดแทรกเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพรวมถึงความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
          3) บรรยายสอดแทรกเรื่องสิทธิ หน้าที่ความเป็นนักศึกษาและการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์          
1)  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ขณะอยู่ในชั้นเรียน เช่น การเข้าชั้นเรียน การตรงเวลาในการส่งงานศึกษาค้นคว้า และปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
        3) งานศึกษาค้นคว้าเป็นรายกลุ่ม ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาด้านการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
           3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
1) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams โดยให้นักศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากเนื้อหาการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นอกชั้นเรียน
            3) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในบริบทของสังคมและเศรษฐกิจปัจจุบัน
1) ประเมินผลจากผลงานศึกษาค้นคว้าในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams จากการศึกษาค้นคว้าย่อย ข้อสอบกลางภาค และปลายภาค
            3) ประเมินผลจากการอภิปรายกลุ่มหรือรายบุคคล ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
1) สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
            2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
1) สอนแบบบรรยายและยกตัวอย่างสถานการณ์ เหตุการณ์ ต่างๆ ทั้งในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Team ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาทางด้านการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แล้วนักศึกษาศึกษาค้นคว้าเชิงเปรียบเทียบ เพื่อนำเสนอในชั้นเรียน หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
             2) สอนบรรยายเรื่องการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและให้วิเคราะห์งานออกแบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
             1) ประเมินผลจากผลงานค้นคว้าเชิงเปรียบเทียบเนื้อหาเรื่องการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  เกี่ยวกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ     
2) ประเมินผลจากผลงานค้นคว้าที่วิเคราะห์เรื่องการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  เกี่ยวกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ        
2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
           3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 
2) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติมเนื้อหาทางด้านการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยตนเองแบบรายกลุ่ม แล้วแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน
         3) สอนบรรยายแล้วมอบหมายงานศึกษารูปแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
2) ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ของการศึกษาค้นคว้าเนื้อหา รวมถึงพฤติกรรมที่แสดงออกต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน ทั้งในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
3) ประเมินจากผลสัมฤทธิ์งานศึกษาค้นคว้ารูปแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
         2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
         3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
2) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วแนะนำรูปแบบการเสนอโดยใช้รูปแบบสารสนเทศและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
          3) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วมอบหมายงานเนื้อหาที่เกี่ยวกับเนื้อหาการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่ต้องมีการประยุกต์ใช้ตัวเลข และเชื่อมโยงกับงานออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
2) ประเมินจากผลงานศึกษาค้นคว้า ทั้งในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams รูปแบบของสารสนเทศที่เหมาะสมในการนำเสนองานทางด้านการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
           3) ประเมินผลจากผลงานศึกษาค้นคว้าจากเนื้อหาด้านการออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและต้องมีการประยุกต์ใช้ตัวเลข
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ท้กษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช่เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ158 การออกแบบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 ร้อยละ 30 ร้อยละ 30
2 2.1 ความรู้ 3.1 ทักษะทางปัญญา 4.1 ทักษะความรับผิดชอบระหว่างบุคคล ฯ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขฯ 2.1 การอภิปรายระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams / ในชั้นเรียนด้วยโปรแกรม power point 2.2 รายงานการนำเสนอระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams / ในชั้นเรียนด้วยโปรแกรม power point ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 30
3 1.1 คุณธรรม จริยธรรม 3.1 การเข้าชั้นเรียนระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams / ในชั้นเรียนด้วยโปรแกรม power point 3.2 การแต่งกาย 3.3 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
 
กิตตินันท์ อันนานนท์. (2565). นวัตกรรมการพัฒนาสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม. เอกสารประกอบการ
              บรรยาย.สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช). ม.ป.พ. , ม.ป.ป.
กานต์ดา บุญเถื่อน (2565). สิ่งทอรักษ์โลก. สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2565 จาก
              https://www.bangkokbiznews.com/tech/547933.
ฉลากเขียวคืออะไร. (2565). สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2565  จาก http://www.bangkokbiznews.com
              /2008/02/13/WW83_8302_news.php?newsid=229434.
ณัชชา บางท่าไม้ และคณะ. (2552). ทัศนคติและพฤติกรรมการใช้สินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิต
              นักศึกษาปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์ ,31(119-120).  
               มกราคม-มิถุนายน 2552. หน้า 56-71.
นิษณาต นิลทองคำ. (2565). 8 สินค้าสุดชิค เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม. สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม  2565 . จาก
               https://happeningandfriends.com/article-detail/222
ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล และชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2557). การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  
               Product Design for Environment Friendly. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับ                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                           
               ภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และศิลปะ, 34(1) , มกราคม-เมษายน. หน้า 99-118.
ประเสริฐ ตปนียางกูร และธนิกานต์ สุ่มสุวรรณ. (2565). การออกแบบโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและ
             สิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2565. จาก  www.isosmartpro.com
             /private_folder/knowledge_Bank
พัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ. สถาบัน, (2565) From Waste to Wear แปลงขยะสู่แฟชั่นรักษ์โลก.
             จาก https://www.thaitextile.org/th/insign/detail.2130.1.0.html
มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. (2556). ECO DESIGN การเตรียมพร้อมรับมืออย่างรู้เท่าทันการค้าโลก.  
             วารสารธุรกิจสีเขียว.7(2), (พฤษภาคม – สิงหาคม 2556). หน้า 7-9.
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์.(2565). สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2565. จาก https://bsc.dip.go.th/
              th/category/quality-control/qs-expandproductlifecycle 
วิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ. สถาบัน, (องค์การมหาชน). (2564). อัญมณีและ 
              เครื่องประดับรักษ์โลก เทรนด์ใหม่ ผู้บริโภคใส่ใจสิ่งแวดล้อม. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2565.     
              จาก https://infocenter.git.or.th/storage/files/3QrgGDZb2lMEQc97lF62O7KocBGHaXH
              kZJnSiFIE.pdf
วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและนวัตกรรมที่ยั่งยืน. (2565). สืบค้นเมื่อ  16 พฤษภาคม 2565.  จาก  
               https://www.nike.com/th/sustainability/materials
สิริพล อนันตวรสกุล และ ธำรงรัตน์ มุ่งเจริญ. (2549). การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ. วารสารวิศวกรรมสาร 
               มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .57(19), หน้า 126-135
 
 
2.1 เนื้อหาเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
  2.2  เนื้อหาเรื่องการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ
3.1 เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม
    3.2 ตัวอย่างโลโก้หรือฉลากสินค้าสีเขียว
    3.2  ตัวอย่างภาพแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในชั้นเรียน / ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
    1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
    2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอนทั้งในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
    2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
    2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ในชั้นเรียนหรือ ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  คือกิจกรรมการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนทั้งในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ
ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาทั้งในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมอง และความรู้ที่หลากหลาย