ทุนวัฒนธรรมกับการออกแบบ
Cultural Capital and Design
1.1 เพื่อให้รู้และเข้าใจความหมาย ประเภท และองค์ประกอบของทุนวัฒนธรรม
1.2 เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับทุนวัฒนธรรมในท้องถิ่นภาคต่าง ๆ ของไทย
1.3 เพื่อให้รู้และเข้าใจความสำคัญและประโยชน์ของทุนทางวัฒนธรรม
1.4 เพื่อให้รู้และเข้าใจทุนวัฒนธรรมกับการเพิ่มมูลค่าให้ผลิตภัณฑ์และบริการ
1.5 เพื่อให้มีความตระหนักถึงคุณค่าในการนำทุนวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้ออกแบบอย่างรู้คุณค่าและเหมาะสม
1.2 เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับทุนวัฒนธรรมในท้องถิ่นภาคต่าง ๆ ของไทย
1.3 เพื่อให้รู้และเข้าใจความสำคัญและประโยชน์ของทุนทางวัฒนธรรม
1.4 เพื่อให้รู้และเข้าใจทุนวัฒนธรรมกับการเพิ่มมูลค่าให้ผลิตภัณฑ์และบริการ
1.5 เพื่อให้มีความตระหนักถึงคุณค่าในการนำทุนวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้ออกแบบอย่างรู้คุณค่าและเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจทุนวัฒนธรรมของพื้นที่ต่างๆ เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ทางด้านทุนวัฒนธรรม เพื่อประยุกต์ใช้ในงานออกแบบแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในชั้นเรียนและออนไลน์ผ่านโปรแกรม Ms Teams รวมถึงในรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาความหมาย ประเภท และองค์ประกอบของทุนวัฒนธรรม ความสำคัญและประโยชน์ของทุนทางวัฒนธรรม ทุนวัฒนธรรมในท้องถิ่นภาคต่าง ๆ ของไทย ทุนวัฒนธรรมกับการเพิ่มมูลค่าให้ผลิตภัณฑ์และบริการ สินค้าหรือผลิตภัณฑ์วัฒนธรรม การนำทุนวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้ออกแบบอย่างรู้คุณค่าและเหมาะสม
Study definition, types, and cultural capital components; importance and benefits of cultural capital; local cultural capital in various regions of Thailand, cultural capital and value-adding to products and services, products or cultural products, applying cultural capital to design with value and appropriateness.
Study definition, types, and cultural capital components; importance and benefits of cultural capital; local cultural capital in various regions of Thailand, cultural capital and value-adding to products and services, products or cultural products, applying cultural capital to design with value and appropriateness.
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งรายละเอียดในการให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน
3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งรายละเอียดในการให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน
3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2) มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
2) มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
1) บรรยายในชั้นเรียนหรือออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams และสอดแทรกเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพรวมถึงความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
2) บรรยายสอดแทรกเรื่องสิทธิ หน้าที่ความเป็นนักศึกษาและการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
2) บรรยายสอดแทรกเรื่องสิทธิ หน้าที่ความเป็นนักศึกษาและการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
1) การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ขณะอยู่ในชั้นเรียน เช่น การเข้าชั้นเรียน การตรงเวลาในการส่งงานศึกษาค้นคว้า และปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
2) งานศึกษาค้นคว้าเป็นรายกลุ่ม ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาด้านทุนวัฒนธรรมท้องถิ่น
2) งานศึกษาค้นคว้าเป็นรายกลุ่ม ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาด้านทุนวัฒนธรรมท้องถิ่น
1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams และสอนการแก้ปัญหาโดยกำหนดประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง โดยให้นักศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากเนื้อหาทุนวัฒนธรรม นอกชั้นเรียน
3) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับทุนวัฒนธรรม ในบริบทของสังคมและเศรษฐกิจปัจจุบัน
3) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับทุนวัฒนธรรม ในบริบทของสังคมและเศรษฐกิจปัจจุบัน
2) ประเมินผลจากผลงานศึกษาค้นคว้าในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams จากการศึกษาค้นคว้าย่อย ข้อสอบกลางภาค และปลายภาค
3) ประเมินผลจากการอภิปรายกลุ่มหรือรายบุคคล ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับทุนวัฒนธรรม
3) ประเมินผลจากการอภิปรายกลุ่มหรือรายบุคคล ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับทุนวัฒนธรรม
1) สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
4) มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
4) มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
1) สอนแบบบรรยายและยกตัวอย่างสถานการณ์ เหตุการณ์ ต่างๆ ทั้งในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Team ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาทางด้านทุนวัฒนธรรม แล้วนักศึกษาศึกษาค้นคว้าเชิงเปรียบเทียบ เพื่อนำเสนอในชั้นเรียน หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
4) สอนบรรยายเรื่องความคิดสร้างสรรค์ เพื่อบูรณาการกับทุนวัฒนธรรมท้องถิ่น
4) สอนบรรยายเรื่องความคิดสร้างสรรค์ เพื่อบูรณาการกับทุนวัฒนธรรมท้องถิ่น
1) ประเมินผลจากผลงานค้นคว้าเชิงเปรียบเทียบเนื้อหาเรื่องทุนวัฒนธรรมท้องถิ่น
4) ประเมินผลจากผลงานค้นคว้าที่บูรณาการระหว่างความคิดสร้างสรรค์และทุนวัฒนธรรมท้องถิ่น
4) ประเมินผลจากผลงานค้นคว้าที่บูรณาการระหว่างความคิดสร้างสรรค์และทุนวัฒนธรรมท้องถิ่น
2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติมเนื้อหาทางด้านทุนวัฒนธรรม ด้วยตนเองแบบรายกลุ่ม แล้วแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ของการศึกษาค้นคว้าเนื้อหา รวมถึงพฤติกรรมที่แสดงออกต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน ทั้งในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
5.2 วิธีการสอน
1) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วแนะนำรูปแบบการเสนอโดยใช้รูปแบบสารสนเทศและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
2) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วมอบหมายงานเนื้อหาที่เกี่ยวกับเนื้อหาทุนวัฒนธรรมที่ต้องมีการประยุกต์ใช้ตัวเลข
1) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วแนะนำรูปแบบการเสนอโดยใช้รูปแบบสารสนเทศและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
2) สอนแบบบรรยายในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วมอบหมายงานเนื้อหาที่เกี่ยวกับเนื้อหาทุนวัฒนธรรมที่ต้องมีการประยุกต์ใช้ตัวเลข
1) ประเมินจากผลงานศึกษาค้นคว้า ทั้งในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams รูปแบบของสารสนเทศที่เหมาะสมในการนำเสนองานทางด้านทุนวัฒนธรรม
2) ประเมินผลจากผลงานศึกษาค้นคว้าจากเนื้อหาที่ต้องมีการประยุกต์ใช้ตัวเลข
2) ประเมินผลจากผลงานศึกษาค้นคว้าจากเนื้อหาที่ต้องมีการประยุกต์ใช้ตัวเลข
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ท้กษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช่เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BAATJ157 | ทุนวัฒนธรรมกับการออกแบบ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1 ความรู้ | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9 และ 17 | สัปดาห์ที่ 9 ร้อยละ 30 สัปดาห์ที่ 17 ร้อยละ 30 |
2 | 2.1 ความรู้ 3.1 ทักษะทางปัญญา 4.1 ทักษะความรับผิดชอบระหว่างบุคคล ฯ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขฯ | 2.1 การอภิปรายระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams / ในชั้นเรียนด้วยโปรแกรม power point 2.2 รายงานการนำเสนอระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams / ในชั้นเรียนด้วยโปรแกรม power point | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 30 |
3 | 1.1 คุณธรรม จริยธรรม | 3.1 การเข้าชั้นเรียนระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams / ในชั้นเรียนด้วยโปรแกรม power point 3.2 การแต่งกาย 3.3 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 10 |
ไกรฤกษ์ ปิ่นแก้ว.(2544). เศรษฐกิจสร้างสรรรค์ ทุนวัฒนธรรมและโอกาสทางธุรกิจ.วารสารนักบริหาร .31(1)
หน้า 32-37.
ชลวุฒิ พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2547). วัฒนธรรมนำการออกแบบ. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรม
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 3(1), หน้า 1-7.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างทุนวัฒนธรรมกับการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ :
กรอบการวิเคราะห์และประเด็นวิจัย, ในทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมในระบบเศรษฐกิจและการ
จัดการยุคใหม่. กรุงเทพฯ : พี เอ ลีฟวิ่ง.
ธัชภรณ์ ศรีเมือง.(2561). บทวิเคราะห์นวัตกรรมกับวัฒนธรรมไทยในศตวรรษที่ 21 : การสร้างนวัตกรรม ทุนทางวัฒนธรรม และเศรษฐกิจสร้างสรรค์.รายงานการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม.
หน้า 72-74.
พรเทพ เลิศเลาวศิริ. (2547). การคิดออกแบบและมิติทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พวงผกา คุโรวาท. (2540). คู่มือประวัติเครื่องแต่งกาย. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. (2539). ทุนวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : มูลนิธิไชย้ง ลิ้มทองกุล.
รสชง ศรีลิโก. (2557). เครื่องประดับ. ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 34 เรื่องที่ 4 (e-book), สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562. จาก http://kanchanapisek.or.th/kp6
วิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ. (2561), สถาบัน. เครื่องประดับอัตลักษณ์ มรดกอันทรงคุณค่าของไทย. ค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562. จาก https://www.git.or.th/information_services.html
ส่งเสริมวัฒนธรรม, กรม. (2563). วัฒนธรรมคุณค่าสู่มูลค่า .สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2563.จาก www.culture.go.th
ส่งเสริมอุตสาหกรรม, กรม. (2559). ทุนวัฒนธรรมไทยสู่การสร้างสรรค์ทางเศรษฐกิจ. วารสารอุตสาหกรรมสาร, 58, หน้า 5 -11.
พัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ,สถาบัน.(2561).แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอ.เอกสารประกอบการบรรยาย. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.
Andrew Reilly. (2014). Key Concept for The Fashion Industry. London, United Kingdom,
Bloomsbury Academic.
Richard Sorger and Jenny Udale. (2006). The Fundamentals of Fashion Design. London,
United Kingdom, Thames & Hudson.
หน้า 32-37.
ชลวุฒิ พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2547). วัฒนธรรมนำการออกแบบ. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรม
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 3(1), หน้า 1-7.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างทุนวัฒนธรรมกับการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ :
กรอบการวิเคราะห์และประเด็นวิจัย, ในทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมในระบบเศรษฐกิจและการ
จัดการยุคใหม่. กรุงเทพฯ : พี เอ ลีฟวิ่ง.
ธัชภรณ์ ศรีเมือง.(2561). บทวิเคราะห์นวัตกรรมกับวัฒนธรรมไทยในศตวรรษที่ 21 : การสร้างนวัตกรรม ทุนทางวัฒนธรรม และเศรษฐกิจสร้างสรรค์.รายงานการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม.
หน้า 72-74.
พรเทพ เลิศเลาวศิริ. (2547). การคิดออกแบบและมิติทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พวงผกา คุโรวาท. (2540). คู่มือประวัติเครื่องแต่งกาย. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. (2539). ทุนวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : มูลนิธิไชย้ง ลิ้มทองกุล.
รสชง ศรีลิโก. (2557). เครื่องประดับ. ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 34 เรื่องที่ 4 (e-book), สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562. จาก http://kanchanapisek.or.th/kp6
วิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ. (2561), สถาบัน. เครื่องประดับอัตลักษณ์ มรดกอันทรงคุณค่าของไทย. ค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562. จาก https://www.git.or.th/information_services.html
ส่งเสริมวัฒนธรรม, กรม. (2563). วัฒนธรรมคุณค่าสู่มูลค่า .สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2563.จาก www.culture.go.th
ส่งเสริมอุตสาหกรรม, กรม. (2559). ทุนวัฒนธรรมไทยสู่การสร้างสรรค์ทางเศรษฐกิจ. วารสารอุตสาหกรรมสาร, 58, หน้า 5 -11.
พัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ,สถาบัน.(2561).แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอ.เอกสารประกอบการบรรยาย. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.
Andrew Reilly. (2014). Key Concept for The Fashion Industry. London, United Kingdom,
Bloomsbury Academic.
Richard Sorger and Jenny Udale. (2006). The Fundamentals of Fashion Design. London,
United Kingdom, Thames & Hudson.
2.1 เนื้อหาเรื่องทุนวัฒนธรรมของแต่ภูมิภาคในประเทศไทย
2.2 เนื้อหาเรื่องทุนวัฒนธรรมในการประยุกต์ใช้ออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
2.2 เนื้อหาเรื่องทุนวัฒนธรรมในการประยุกต์ใช้ออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
3.1 เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาทางด้านทุนวัฒนธรรมเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มในทางเศรษฐกิจ
3.2 เอกสารแผ่นพับ สุจิบัตร นิทรรศการ พิพิธภัณฑ์ ศูนย์ องค์กร ที่เกี่ยวกับการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
3.2 เอกสารแผ่นพับ สุจิบัตร นิทรรศการ พิพิธภัณฑ์ ศูนย์ องค์กร ที่เกี่ยวกับการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในชั้นเรียน / ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในชั้นเรียน / ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอนทั้งในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ในชั้นเรียนหรือ ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอนทั้งในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ในชั้นเรียนหรือ ระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน คือกิจกรรมการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนทั้งในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาทั้งในชั้นเรียนหรือระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมอง และความรู้ที่หลากหลาย
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมอง และความรู้ที่หลากหลาย