การประลองทางวิศวกรรมเครื่องกลสำหรับวิศวกรรมการผลิต
Mechanical Engineering Workshop for Production Engineering
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล เกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐาน การวัดขนาด ความเร็วเชิงเส้นและเชิงมุม อัตราการไหล แรง ความเค้น ความดัน อุณหภูมิ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลการทดลองได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ จากการศึกษาและปฏิบัติงานประลองวิศวกรรมเครื่องกล อีกทั้งยังเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้มีการปรับเปลี่ยนการทดลองในห้องปฏิบัติการหรือตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล การวัดขนาด ความเร็วเชิงเส้นและเชิงมุม อัตราการไหล แรง ความเค้น ความดัน อุณหภูมิ การวิเคราะห์ความผิดพลาดในการทดอง การวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลการทดลอง ปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับกลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ ความร้อน จลนศาสตร์ และกลศาสตร์ของแข็ง การเขียนรายงานทางวิศวกรรม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.21 บรรยายความรู้เบื้องต้นและสอนวิธีใช้เครื่องมือที่ใช้ในการฝึกปฏิบัติ
1.2.2 ให้นักศึกษาทำการทดลองและเก็บผลที่ได้ไปวิเคราะห์เพื่อหาลักษะเฉพาะของการทดลองนั้นๆ
1.2.3 ให้นักศึกษานำเสนอการทดลองหลังจากทำการทดลองเสร็จ
1.2.2 ให้นักศึกษาทำการทดลองและเก็บผลที่ได้ไปวิเคราะห์เพื่อหาลักษะเฉพาะของการทดลองนั้นๆ
1.2.3 ให้นักศึกษานำเสนอการทดลองหลังจากทำการทดลองเสร็จ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินจากผลการนำเสนอ ผลการทดลองในห้องเรียน
1.3.2 ประเมินจากผลการนำเสนอ ผลการทดลองในห้องเรียน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล เช่น การวัดขนาด ความเร็วเชิงเส้นและเชิงมุม อัตราการไหล แรง ความเค้น ความดัน อุณหภูมิ พลศาสตร์ ความร้อน จลนศาสตร์ และกลศาสตร์ของแข็ง
บรรยาย สาธิต สอนวิธีใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ ให้นักศึกษานำเสนอการทดลองหลังจากทำการทดลองเสร็จ
2.3.1 ทำรายงานการทดลองโดยทำการค้นคว้าเพิ่มเติม วิเคราะห์และสรุปผล
2.3.2 การนำเสนอผลการทดลองในชั้นเรียน
2.3.2 การนำเสนอผลการทดลองในชั้นเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ จากการใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ
3.2.1 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติตามวิธีการทดลองที่กำหนดไว้
3.2.2 ให้นักศึกษาทำรายงานของแต่ละการทดลองโดยมีวิธีคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.2.2 ให้นักศึกษาทำรายงานของแต่ละการทดลองโดยมีวิธีคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.3.1 วัดผลจากการประเมินรายงานจากการทดลอง
3.3.2 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาในขณะทำการทดลอง
3.3.2 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาในขณะทำการทดลอง
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มการทำการทดลองในชั้นเรียน
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
4.3.1 สังเกตการทำงานเป็นกลุ่มของนักศึกษา
4.3.2 ประเมินจากแบบทดสอบในคาบเรียน พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.3.2 ประเมินจากแบบทดสอบในคาบเรียน พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ
5.1.2 พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
5.1.2 พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
5.2.1 บรรยายความรู้เบื้องต้นที่จะใช้ในการทดลอง
5.2.2 สาธิตวิธีใช้เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองให้นักศึกษาดู
5.2.2 สาธิตวิธีใช้เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองให้นักศึกษาดู
5.3.1 ประเมินจากรายงาน
5.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะฝึกปฏิบัติ
5.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะฝึกปฏิบัติ
มีความสามารถในการใช้อุปกรณ์เครื่องมือพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ และการประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 6.1.2 มีทักษะในการพัฒนาและดัดแปลงใช้อุปกรณ์เครื่องมือสำหรับการแก้ปัญหาเฉพาะทาง เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในงานที่ดำเนินการ 6.1.3 มีทักษะในการร่างแบบสำหรับงานสาขาวิชาชีพเฉพาะ และสามารถนำไปสู่ภาคปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สาธิตการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ รวมทั้งขั้นตอนการปฏิบัติ 6.2.2 มอบหมายงานตามใบฝึกปฏิบัติ (Job sheet) 6.2.3 เตรียมใบฝึกปฏิบัติที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถเชิงทักษะในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรม 6.2.4 ฝึกทำการร่างแบบสั่งงานจริงในสาขาวิชาชีพเฉพาะ 6.2.5 ฝึกนักศึกษาให้มีกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน
6.3.1 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์โดยการบันทึกเป็นระยะๆ
6.3.2 ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
6.3.3 ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
6.3.2 ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
6.3.3 ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | ENGIE232 | การประลองทางวิศวกรรมเครื่องกลสำหรับวิศวกรรมการผลิต |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.1,1.1.21.1.3.1.1.42.1,3.1,4.1.1,4.1.24.1.3,5.1.1,5.1.2 | รายงาน การทำงานกลุ่มและการนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ฝึกปฏิบัติทำการทดลอง | ตลอดภาคการศึกษา | 70% |
2 | 2.1 | สอบ | 16 | 20% |
3 | 1.1.1-1.1.6,3.1,4.1.1-4.1.3 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
คู่มือปฏิบัติการประลองวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิศวกรรมและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เกี่ยวกับการประลองทางวิศวกรรมเครื่องกลสำหรับวิศวกรรมการผลิต
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เกี่ยวกับการประลองทางวิศวกรรมเครื่องกลสำหรับวิศวกรรมการผลิต
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ