ประติมากรรมขนาดเล็ก

Mini Sculpture

1. ศึกษาประวัติความเป็นมาในงานประติมากรรมขนาดเล็กในประเทศไทย และสากล
2. ศึกษาและฝึกปฏิบัติประติมากรรมขนาดเล็กจากรูปที่เหมือนจริงและนามธรรม
3. ศึกษาและฝึกปฏิบัติประติมากรรมขนาดเล็ก โดยใช้วัสดุประเภทต่าง ๆ สร้างสรรค์ผ่านรูปแบบเฉพาะตน
-
ศึกษาและปฏิบัติเรียนรู้รูปแบบของงานประติมากรรมขนาดเล็กในวิธีการสร้างสรรค์ในประเทศไทย และสากล จากรูปที่เหมือนจริงและนามธรรม โดยใช้วัสดุประเภทต่าง ๆ ให้มีรูปแบบเฉพาะตน
Study of mini sculpture study and practice, including Thai and international virtual and abstract styles. Various materials are utilized to crate a unique personal expression.
4 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 
         
 พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของผู้อื่นและเพื่อนในชั้นเรียน   มีความซื่อสัตย์ในการเรียนและการสร้างสรรค์ผลงาน โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
          1.2.1   ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริตเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
          1.2.2    มีความเป็นนักสร้างสรรค์ที่ดีมีคุณธรรมไม่ลอกเรียนหรือแอบอ้างผลงานของผู้อื่นว่าเป็นของตนเอง
          1.2.3    มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเห็นคุณค่างานประติมากรรม  รับผิดชอบและปฏิบัติงานตรงเวลาสามารถวิเคราะห์ผลหาข้อสรุปเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน
          1.2.4    เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
          1.3.1  พฤติกรรมการเข้าเรียน และลงมือปฏิบัติงานตามที่กำหนดตรงเวลา
          1.3.2  ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานด้วยความสนใจเข้าใจในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อเสียของผลงานทั้งของตนเองและเพื่อนในชั้นเรียน     
          1.3.3 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
      รู้ลำดับขั้นตอนการปั้นประติมากรรมขนาดเล็กทั้งรูปแบบเหมือนจริงและนามธรรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานโดยใช้เทคนิคต่างๆ การจัดองค์ประกอบ   ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานด้วยการนำเนื้อหาเรื่องราวมาเป็นแรงบันดาลใจ โดยสอดคล้องถึงเทคนิควิธีการทางประติมากรรมที่เหมาะสมตรวจและแก้ไขด้วยตนเอง เห็นคุณค่างานประติมากรรม และพัฒนาให้ทันยุคสมัย
ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติทุกครั้งว่ามีความรู้และความเข้าใจในการถ่ายทอดให้ได้ตามที่ต้องการแสดงออกจากแบบที่กำหนดให้หรือการสร้างสรรค์ด้วยตนเองด้วยวิธีการทางประติมากรรมอย่างถูกต้อง
มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
                รู้ทฤษฎีลำดับขั้นตอนการแสดงออกทางประติมากรรมขนาดเล็กทั้งรูปแบบเหมือนจริงและนามธรรม การจัดองค์ประกอบทางทัศนศิลป์ ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานด้วยการนำเนื้อหาเรื่องราวมาเป็นแรงบันดาลใจ โดยสอดคล้องถึงเทคนิควิธีการทางประติมากรรมที่เหมาะสม พัฒนาความสามารถในการมองโดยการถ่ายทอดและสร้างสรรค์ผลงานอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน วิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น            
                 ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติทุกครั้งว่ามีความรู้และความเข้าใจในการถ่ายทอดให้เหมือน   จากแบบที่กำหนดให้ด้วยวิธีการทางประติมากรรมอย่างถูกต้อง มีการวิเคราะห์และมีความคิดสร้างสรรค์และแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องในงานได้
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
          4.2.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
          4.2.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
          4.2.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่ตนเองสร้างสรรค์ให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
          4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยการวิจารณ์ผลงานที่ได้ฝึกปฏิบัติ
          4.3.2 ประเมินจากความร่วมมือในการแบ่งงานกันอย่างมีระบบ และทำงานเป็นทีม
          4.3.3 ประเมินจากการจัดหาหุ่นได้ตามกำหนด   
1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้การสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์และสร้างสรรค์ผลงานจากข้อมูลที่ได้ศึกษามาโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมพัฒนาทักษะในการสืบค้น จากตำรา และข้อมูลทางอินเตอร์เน็ด
5.2.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียนรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.3.1 ประเมินจากผลงานที่เสร็จสมบูรณ์
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงานและวิธีการนำเสนอ
1. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง       
2. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน                   
6.2.1 มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยทั้งตนเองและเพื่อนร่วมปฏิบัติงาน 
6.2.2 ทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละคนถนัดเพื่อเป็นต้นแบบในการขยายเป็นผลงานตามที่ตนกำหนด
6.2.3 สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสมและทันสมัย
6.2.4 สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน วิพากษ์และวิจารณ์ผลงานของตนเองและเพื่อนร่วมปฏิบัติงานได้
6.2.5 มีทักษะในการสร้างสรรค์ที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา ประเมินจากการนำเสนอรายงานและการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์เป็นต้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา (1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น (3) มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ (1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง (2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม (4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา (1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน (2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ (4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน (1) มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ (3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง (1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงาน (1) มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ (2) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง (3) มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BFAVA156 ประติมากรรมขนาดเล็ก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 1 1. ตรวจผลงานภาคการปฏิบัติขั้นสำเร็จตามหัวข้อที่กำหนด ผลการเรียนรู้ที่ 1 2. สอบกลางภาค 1-9 35 %
2 หน่วยที่ 2-3 1. ตรวจผลงานภาคการปฏิบัติขั้นสำเร็จตามหัวข้อที่กำหนดผลการเรียนรู้ที่ 2 2. สอบปลายภาค 10-17 55%
3 หน่วยที่ 1-3 ประเมินการส่งงานตามที่มอบหมาย จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การมีส่วนร่วม การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
1. ประเสริฐ พิชยะสุนทร. (2555). ศิลปะและการออกแบบเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : บริษัทวี. พริ้นท์.
2. ชัยชาญ จันทศรี. (2557). ประติมากรรมลักษณะเฉพาะตัว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ เจ ปริ้น.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อผลงานประติมากรรมของประติมากรที่สำคัญทั้งในประเทศและต่างประเทศ
-
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
  - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 - ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
 - ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบความก้าวหน้าและความเข้าใจในการปฏิบัติงาน
-
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จาก  การสอบถามนักศึกษา และสังเกตความก้าวหน้า ความเข้าใจ และพัฒนาของผลการปฏิบัติงาน
4.1  การให้คะแนนจากการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบรายงาน วิธีการให้
          - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4