การบัญชีต้นทุน

Cost Accounting

เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ ความสำคัญและบทบาทการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ ความหมายของต้นทุนต่าง ๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธีการบัญชีและการควบคุมเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ ระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต วิธีการบัญชีเกี่ยวกับของเสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษซาก การบัญชีต้นทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่างการบัญชีต้นทุน ผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ การปันส่วนต้นทุนการผลิตและการบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม
1. เพื่อพัฒนาความสามารถของนักศึกษาในเรื่องการศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและวิธีการ    บันทึกบัญชีเกี่ยวกับระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน
2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
3. เพื่อสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรในด้านที่ 2 ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีความรู้
ศึกษาและปฏิบัติ เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ ความสำคัญและบทบาทการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ ความหมายของต้นทุนต่าง ๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธีการบัญชีและการควบคุมเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ ระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต วิธีการบัญชีเกี่ยวกับของเสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษซาก การบัญชีต้นทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่างการบัญชีต้นทุน ผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ การปันส่วนต้นทุนการผลิตและการบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม
 
Study and practice of objective, The importance and roles of cost accounting in
business organization, Definition of various costs, An accounting system far cost collection,
accounting and control methods for raw materials, labor, and manufacturing
overhead, accounting system for job order costing and process costing,
accounting for waste, reworks and scarps; activity-based costing, variance
analysis, accounting system for joint-product and by-product, cost allocation
and standard costing
- อาจารย์ประจำรายวิชา บอกช่วงเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรก
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 มีความรู้ และความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี
1.2 สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทาง ปฏิบัติ
     ได้อย่างเหมาะสม
1.3 แสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบในการ
     ทำงานและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
1) สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหารายวิชา
2) ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
3) เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
4) การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
1) ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงต่อเวลา การทำงานทันตามกำหนด และความพร้อมเพรียงของการเข้าร่วมกิจกรรม
2) ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
3) ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4) สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
2.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการปฏิบัติด้านการบัญชี เพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็น ประโยชน์ต่อผู้ใช้ 2.3 มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพบัญชี
1) ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิด หลักการ ทฤษฏี
    และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยายและอภิปราย การยกตัวอย่าง การสอนแบบสาธิต การสอนแบบใช้สถานการณ์จำลอง การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา
2) การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
3) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานหรือโครงการ
4) การบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปะวัฒนาธรรม และงานวิจัย โดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับนักศึกษา
1) ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทอสอบย่อย รายงาน การ
    ค้นคว้า และการนำเสนอ
2) การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือ การสอบปฏิบัติ
3) การประเมินผลการเรียนรู้โดยผู้ประกอบการจากสถานการณ์จริง หรือการฝึกงานในองค์กร
    ธุรกิจ
4) การประเมินความรู้ของบัณฑิตโดยการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต
5) การถ่ายทอดบทเรียนผลการเรียนรู้ที่ได้จากการบูรณาการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และงานวิจัยโดยถ่ายทอดความรู้ผ่านนิทรรศการ ผ่านการสะท้อนความคิดเห็นของนักศึกษา หรือการเขียนรายงานจากประสบการณ์จริง หรือวิธีการอื่นๆ
1. มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
 
2. มีความสามารถสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
 
3. มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
 4.  มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญต่อองค์กร และสามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
5. มีความรู้ ความเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงาน
1) ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น
    ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์
    จำลอง
2) จัดให้มีรายวิชาที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และ
    สังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
3) สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และ
    รายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
4) การบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปะวัฒนาธรรม และงานวิจัย โดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับนักศึกษา
1)  ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลองที่
     ได้รับมอบหมาย
2)  ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา
3)  ประเมินจากรายงานผลการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
    รวมทั้งผลการอภิปลายแสดงความคิดเห็น
4) การถ่ายทอดบทเรียนผลการเรียนรู้ที่ได้จากการบูรณาการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และงานวิจัยโดยถ่ายทอดความรู้ผ่านนิทรรศการ ผ่านการสะท้อนความคิดเห็นของนักศึกษา หรือการเขียนรายงานจากประสบการณ์จริง หรือวิธีการอื่นๆ
4.1 มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วย วิธีการที่
     ถูกต้องและเหมาะสม
4.2 มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
4.3 มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและศาสตร์
     อื่นที่ เกี่ยวข้อง และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
1) มอบหมายการทำงานร่วมกันเป็นทีม เช่น การทำโครงการ การแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษา การค้นคว้าอิสระ การทำวิจัย การจัดนิทรรศการ เป็นต้น โดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกทีม และผลัดกันเป็นผู้นำเสนอ
2) มอบหมายงานที่เกี่ยวกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3) ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่างๆ
4) การบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปะวัฒนาธรรม และงานวิจัย โดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับนักศึกษา
1) ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
                2) ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
      3) สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
4) การถ่ายทอดบทเรียนผลการเรียนรู้ที่ได้จากการบูรณาการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และงานวิจัยโดยถ่ายทอดความรู้ผ่านนิทรรศการ ผ่านการสะท้อนความคิดเห็นของนักศึกษา หรือการเขียนรายงานจากประสบการณ์จริง หรือวิธีการอื่นๆ
5.1 มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญ
     ต่อองค์กร และสามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
5.2 มีความอดทน ความรับผิดชอบ ทักษะทางสังคม และจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวให้
     เข้ากับสถานการณ์ ต่าง ๆ วัฒนธรรมองค์กร และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
5.3 มีหลักคิดและวิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ สามารถทำงานให้สำเร็จ ตาม
     เป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
5.4 มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
1) มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข
2) มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและ
    ต่างประเทศ
3) ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอในรูปแบบ
    รายงาน มอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียนใน
    รูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
4) การถ่ายทอดบทเรียนผลการเรียนรู้ที่ได้จากการบูรณาการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และงานวิจัยโดยถ่ายทอดความรู้ผ่านนิทรรศการ ผ่านการสะท้อนความคิดเห็นของนักศึกษา หรือการเขียนรายงานจากประสบการณ์จริง หรือวิธีการอื่นๆ
1) ประเมินจากผลงาน กิจกรรมที่เกี่ยวข้องเขิงสถิติและคณิตศาสตร์
                2) ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและนำเสนอผลงาน
                    เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
                3) ประเมินจากการสอบข้อเขียน
                4) ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็น
                    รายบุคคลหรือรายกลุ่ม
5) การถ่ายทอดบทเรียนผลการเรียนรู้ที่ได้จากการบูรณาการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และงานวิจัยโดยถ่ายทอดความรู้ผ่านนิทรรศการ ผ่านการสะท้อนความคิดเห็นของนักศึกษา หรือการเขียนรายงานจากประสบการณ์จริง หรือวิธีการอื่นๆ
6.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งการใช้ความรู้
     ความสามารถเชิงเทคนิคในการวางแผนงาน การควบคุม การประเมินผล และการ รายงานผล
     ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
6.2 มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชี
     โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพ
     บัญชีให้มีประสิทธิภาพ
6.3 มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดย
     เลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
1) มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข
2) มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและ
    ต่างประเทศ
3) ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอในรูปแบบ
    รายงาน มอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียนใน
    รูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
4) การถ่ายทอดบทเรียนผลการเรียนรู้ที่ได้จากการบูรณาการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และงานวิจัยโดยถ่ายทอดความรู้ผ่านนิทรรศการ ผ่านการสะท้อนความคิดเห็นของนักศึกษา หรือการเขียนรายงานจากประสบการณ์จริง หรือวิธีการอื่นๆ
1) ประเมินจากผลงาน กิจกรรมที่เกี่ยวข้องเขิงสถิติและคณิตศาสตร์
                2) ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและนำเสนอผลงาน
                    เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
                3) ประเมินจากการสอบข้อเขียน
                4) ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็น
                    รายบุคคลหรือรายกลุ่ม
5) การถ่ายทอดบทเรียนผลการเรียนรู้ที่ได้จากการบูรณาการบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และงานวิจัยโดยถ่ายทอดความรู้ผ่านนิทรรศการ ผ่านการสะท้อนความคิดเห็นของนักศึกษา หรือการเขียนรายงานจากประสบการณ์จริง หรือวิธีการอื่นๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.1 1.2 1.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3
1 BACAC123 การบัญชีต้นทุน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ข้อ 1.3 การทดสอบย่อย 2 ครั้ง ครั้งละ 15 คะแนน การสอบกลางภาค 20 คะแนน การสอบปลายภาค 20 คะแนน 4 และ 14 9 18 70%
2 ด้านความรู้ 2.1,2.4 รายงาน และ การนำเสนอหน้าชั้นเรียน - การจัดทำรายงานต้นทุนการผลิตของสินค้าเกษตรในจังหวัดลำปาง ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ด้านทักษะทางปัญญา 3.1,3.2,3.3 การสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียนตามข้อตกลง การส่งงาน ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความเอาใจใส่ในผลงาน พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน - การเข้าห้องเรียน - การส่งงาน (แบบฝึกหัด) /การแต่งกาย - ความสามารถในการบริหารงานที่มอบหมาย (ความสามารถในการการจัดการเล่มรายงานให้มีความสมบูรณ์แบบ (เนื้อหา และรูปแบบ) โดยแบ่งเป็นงานค้นคว้าเกี่ยวกับ การมีส่วนร่วมของหลักสูตรและมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี 5.1,5.2,5.3 - ประเมินจากผลการทำแบบฝึกหัดและ แบบทดสอบย่อย - ประเมินผลจากการวิเคราะห์และ นำเสนอรายงานต้นทุนการผลิตของสินค้าเกษตรในจังหวัดลำปาง ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอน ว่าที่ร.ต.หญิงดารณี ใจวงค์
www.tfac.or.th
www.set.or.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์ในระบบทะเบียนกลาง
1.2  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนนักศึกษา
2.2   ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4   ชั่วโมงสุดท้ายให้นักศึกษาเขียนโพสอิทคนละ 3 แผ่น 1.เขียนความในใจถึงวิชา การบัญชีต้นทุน 2.เขียนสิ่งที่ได้จากการเรียนวิชา การบัญชีต้นทุน 3.สิ่งที่อยากให้อาจารย์ผู้สอนปรับปรุงการสอนในเทอมถัดไป
2.5 สอบถามด้วยวาจาและสังเกตพฤติกรรม ความสนใจและความตั้งใจของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
     3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลประเมินของนักศึกษา
     3.2 จัดทำ และพัฒนาเอกสารประกอบการสอน สื่อการสอน
3.2 สอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคำนวณ ทำแบบทดสอบท้ายหน่อยและแบบฝึกหัดเสริมพร้อมกับนักศึกษาทุกหน่วยเรียน ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel
3.3 สอนเพิ่มเติมฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแก้ไขโจทย์ปัญหาในองค์กรธุรกิจเช่น โรงงานอุตสาหกรรม/ ตัวอย่าง เกษตรกร การทำบัญชีต้นทุนผู้ประกอบการอาชีพฟาร์ม เช่น ฟาร์มเลี้ยงหมู ฟาร์มเลี้ยงโคนม ฟาร์มเกษตรอินทรีย์ ฟาร์มเลี้ยงเป็น ฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ ฟาร์มปลา ตั้งแต่กระบวนการแรกคือ แยกบิลที่นำมาลงบันทึกบัญชี การได้มาซึ่งกำไร ขาดทุน ผลประกอบการของเกษตรกรตัวอย่าง การจำแนกต้นทุน การคิดต้นทุนต่อหน่วย ตลอดจนการนำส่งสรรพกร
3.4 นำข้อเสนอแนะของนักศึกษามาปรับปรุงการสอนโดยครั้งก่อนไม่ได้แจ้งการคะแนนหลังการสอบทุกครั้ง เทอมนี้ได้แจ้งผลคะแนนให้นักศึกษาทราบหลักจากตรวจข้อสอบเสร็จมีการประกาศผลคะแนนลงในไลน์กลุ่มวิชาต้นทุน
3.5 การบูรณาการการเรียนการสอนตามรูปแบบ RMUTL STEM Education
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการบันทึกหลังการสอน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4


ต่างๆ