สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น

Statistics and Basic Data Analysis

1.1 ทราบความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ
1.2 ทราบบทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน
1.3 มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล และการนำเสนอข้อมูล
1.4 เข้าใจการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา และเชิงอนุมาน
1.5 ประยุกต์ใช้สถิติในวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
1.6 เข้าใจการนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
นำผลลัพธ์ที่ได้มาปรับปรุงวิธีการสอน ให้ทันสมัยและเหมาะสมกับเนื้อหา ตลอดจนให้นักศึกษาเห็นความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาที่เรียนและวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและบทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน การสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูลแบบต่างๆ การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงพรรณนาและเชิงอนุมาน การแปลความหมายข้อมูล การประยุกต์ใช้สถิติในวิชาชีพและชีวิตประจำวัน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Study Investigate fundamental knowledge and the role of statistics in daily life, search engine and data collection. Practice presentation of various types of information. Understand statistical analysis, both descriptive and inferential. Be able to interpret data and apply statistics in the workplace and daily life. Utilize computer program to analyze key data.
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (ทุกวันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น.)
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
(4) เคารพในคุณค่่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(1) ให้ความสำคัญในวินัย  การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
(2) สอดแทรกการมีจิตสำนึกสาธารณะระหว่างการเรียนการสอน เช่น การดูและรักษาความสะอาดห้องเรียน
(3) ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม  และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
(4) ทำข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้สอนและนักศึกษาเกี่ยวกับกฎระเบียบต่างๆ ในชั้นเรียน
(1)  ให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และคะแนนความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
(2)  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติเนื้อหาที่ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
(1) ใช้การสอนหลายรูป เช่น แบบบรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน กรณีศึกษา 
(2) ให้นักศึกษาสืบค้นตัวอย่างการนำความรู้ในวิชาไปใช้ในชีวิตประจำวัน  ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม  พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
(3) วิเคราะห์กรณีศึกษาทางด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน
(1) การทดสอบย่อย  ทดสอบกลางภาค  ทดสอบปลายภาค
(2) พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
(3) พิจารณาให้คะแนนจากรายงานและการนำเสนอ
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
(1) บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน การสอนแบบตั้งคำถาม  การสอนแบบกรณีศึกษา
(2) ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ ให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์  พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
(1) การทดสอบย่อย  ทดสอบกลางภาค  ทดสอบปลายภาค
(2) พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
(3) พิจารณาให้คะแนนจากรายงานและการนำเสนอ
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
(2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
(1) มอบหมายงานเป็นกลุ่ม โดยให้หมุนเวียนกันเป็นผู้นำ และผู้นำเสนอ
(2) ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
(3) ส่งเสริมการเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
(1) พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
(2) พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
(3) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
(2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
(3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
(1) มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
(2) กำหนดให้นักศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนองาน โดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเนื้อหา
(1) พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
(2) พิจารณาให้คะแนนจากการนำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
(3) มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อค้นคว้าเนื้อหาที่เรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBSC402 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1. ให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และคะแนนความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์ 5%
2 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม -พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย -พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม -สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม -มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อค้นคว้าเนื้อหาที่เรียน ทุกสัปดาห์ 20%
3 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ ทดสอบย่อย ทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค ทดสอบย่อย สัปดาห์ที่ 4-6 ทดสอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9 ทดสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 16 ทดสอบย่อย 15% ทดสอบกลางภาค 30% ทดสอบปลายภาค 30%
นพรัตน์  เตชะพันธ์รัตนกุล  (2567). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น. เชียงใหม่ : กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตร.
-
1. ชูศรี  วงศ์รัตนะ. (2560). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.
2. ประไพศรี  สุทัศน์ ณ อยุธยา, และพงศ์ชนัน  เหลืองไพบูลย์. (2549). สถิติวิศวกรรม. กรุงเทพฯ:  ท้อป.
3. ปรีดาภรณ์  กาญจนสำราญวงศ์. (2560). หลักสถิติเบื้องต้น. นนทบุรี: ไอดีซี พรีเมียร์.
4. ปรีดาภรณ์  กาญจนสำราญวงศ์. (2561). วิเคราะห์ข้อมูลสถิติและทำงานวิจัยด้วย Excel. นนทบุรี: ไอดีซี พรีเมียร์.
5. ไพทูรย์  ศิริโอฬาร. (2559). สถิติสำหรับวิศวกร. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
6. มนตรี  สังข์ทอง. (2557). หลักสถิติ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
7. วิโรจน์  มงคลเทพ (2564). สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์.กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
8. สรชัย  พิศาลบุตร. (2557). สถิติเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
9. สิน  พันธุ์พินิจ. (2549). เทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์. 
10.Bluman, A. (2012). Elementary Statistics : A Step By Step Approach (8th ed). New York : McGraw-Hill.
1.1  นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนออนไลน์  ผ่านเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
1.2  ให้นักศึกษาทำแบบสอบถาม  เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในภาคเรียน
2.1  ประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนร่วมในรายวิชา
2.2  ประเมินผลการเรียนการสอนโดยหัวหน้ากลุ่มวิชาคณิตศาสตร์
3.1  นำผลการประเมินของนักศึกษาและผลจากแบบสอบถามจากนักศึกษามาทบทวน  และปรับปรุงการเรียนการสอน
3.2  นำผลการประชุมร่วมระหว่างอาจารย์ผู้สอนมาปรับปรุงการเรียนการสอน
3.3  ทำวิจัยในชั้นเรียน
4.1  บันทึกหลังการสอนรายคาบ
4.2  ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
4.3  แจ้งคะแนนสอบให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ
4.4  ใช้ข้อสอบร่วม
5.1  บันทึกหลังการสอนรายคาบ
5.2  ประชุมผู้สอนร่วม
5.3  ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม