เขียนแบบขั้นพื้นฐาน
Basic of Drafting
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจมีทักษะ ในการใช้เครื่องมือเขียนแบบ การเขียนเส้น ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปทรงเรขาคณิต ภาพฉาย ภาพไอโซเมตริก ภาพออบบลิค การเขียนภาพทัศนียภาพเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการเขียนแบบได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการแก้ปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจมีทักษะ ในการใช้เครื่องมือเขียนแบบ การเขียนเส้น ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปทรงเรขาคณิต ภาพฉาย ภาพไอโซเมตริก ภาพออบบลิค การเขียนภาพทัศนียภาพ ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านงานสถาปัตยกรรมภายในที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือเขียนแบบ การเขียนเส้น ตัวอักษรสัญลักษณ์ รูปทรงเรขาคณิต การเขียนภาพสามมิติ และทัศนียภาพ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าห้องเรียนหรือหน้าพักอาจารย์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- มีความรู้และความเข้าใจพื้นฐานทางด้านทฤษฎี ข้อกำหนดและกฎหมายวิชาชีพ และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษาทางศิลปะสถาปัตยกรรมหรือสถาปัตยกรรมภายใน
- เข้าใจและสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ ในการปฏิบัติวิชาชีพออกแบบ เขียนแบบ ให้ได้ตามมาตรฐานทางสถาปัตยกรรมทางศิลปะ สถาปัตยกรรมหรือสถาปัตยกรรมภายใน
- มีความรู้ความเข้าใจ สามารถจำแนกประเภทและลักษณะทางศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม และภูมิปัญญาต่าง ๆ ของพื้นถิ่นล้านนา
- มีความรู้ในการบูรณาการการใช้เทคโนโลยีเพื่องานออกแบบ เขียนแบบ และนำเสนอผลงานในงานสถาปัตยกรรมภายใน
- เข้าใจและสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ ในการปฏิบัติวิชาชีพออกแบบ เขียนแบบ ให้ได้ตามมาตรฐานทางสถาปัตยกรรมทางศิลปะ สถาปัตยกรรมหรือสถาปัตยกรรมภายใน
- มีความรู้ความเข้าใจ สามารถจำแนกประเภทและลักษณะทางศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม และภูมิปัญญาต่าง ๆ ของพื้นถิ่นล้านนา
- มีความรู้ในการบูรณาการการใช้เทคโนโลยีเพื่องานออกแบบ เขียนแบบ และนำเสนอผลงานในงานสถาปัตยกรรมภายใน
- สอนแบบบรรยายร่วมกับการอภิปราย
- การฝึกปฏิบัติงานเขียนแบบ
- การสอนแบบเชิงรุก (Active
Learning)
- การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning)
- การสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบ การณ์(Experiential Learning) ผ่านโครงงาน (Project Based Practice) ฝึกเก็บข้อมูลภาคสนาม
- การฝึกปฏิบัติงานเขียนแบบ
- การสอนแบบเชิงรุก (Active
Learning)
- การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning)
- การสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบ การณ์(Experiential Learning) ผ่านโครงงาน (Project Based Practice) ฝึกเก็บข้อมูลภาคสนาม
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
- ผลการปฏิบัติในงานหรือสถานการณ์ที่มอบหมาย
- ประเมินจากการทำรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน ประเมินผลจากรายงาน
- ผลการปฏิบัติในงานหรือสถานการณ์ที่มอบหมาย
- ประเมินจากการทำรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน ประเมินผลจากรายงาน
- มีทักษะการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ สามารถหาความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และวิเคราะห์เพื่อนำไปสู่การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอย่างสร้างสรรค์
- มีทักษะสามารถนำความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม และภูมิปัญญาพื้นถิ่นล้านนามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอย่างสร้างสรรค์
- มีทักษะในการนำเสนอแบบรูปรายการประกอบการก่อสร้างงานสถาปัตยกรรมภายในด้วยเทคโนโลยีต่าง ๆ
- มีทักษะในการวางแผนระบบการทำงานภายในองค์กร มีความเข้าใจข้อมูลและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทางด้าน วิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน
- มีทักษะการทำงานด้วยเทคโนโลยีและความสามารถในการนำเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมภายในด้วยเทคนิคที่หลากหลายการนำเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมภายในด้วยเทคนิคที่หลากหลาย
- มีทักษะสามารถนำความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม และภูมิปัญญาพื้นถิ่นล้านนามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอย่างสร้างสรรค์
- มีทักษะในการนำเสนอแบบรูปรายการประกอบการก่อสร้างงานสถาปัตยกรรมภายในด้วยเทคโนโลยีต่าง ๆ
- มีทักษะในการวางแผนระบบการทำงานภายในองค์กร มีความเข้าใจข้อมูลและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทางด้าน วิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน
- มีทักษะการทำงานด้วยเทคโนโลยีและความสามารถในการนำเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมภายในด้วยเทคนิคที่หลากหลายการนำเสนอผลงานที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมภายในด้วยเทคนิคที่หลากหลาย
- มีการบรรยายทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอาคารประเภทต่าง ๆ
- เชิญวิทยากร ผู้มีประสบการณ์ มาบรรยายองค์ความรู้
- มีการศึกษาดูงาน ทั้งภายในหรือต่างประเทศ
- การฝึกวิเคราะห์ข้อมูลจาก case study และการนำเอาไปใช้ในการออกแบบ
- มอบหมายหน้าที่เพื่อค้นคว้าข้อมูลจากสถานที่จริง
- มุ่งเน้นการให้โจทย์ในการปฏิบัติจากสถานการณ์จริง
- การศึกษาตัวอย่างของเอกสารประกอบการก่อสร้างงาน
- เชิญวิทยากร ผู้มีประสบการณ์ มาบรรยายองค์ความรู้
- มีการศึกษาดูงาน ทั้งภายในหรือต่างประเทศ
- การฝึกวิเคราะห์ข้อมูลจาก case study และการนำเอาไปใช้ในการออกแบบ
- มอบหมายหน้าที่เพื่อค้นคว้าข้อมูลจากสถานที่จริง
- มุ่งเน้นการให้โจทย์ในการปฏิบัติจากสถานการณ์จริง
- การศึกษาตัวอย่างของเอกสารประกอบการก่อสร้างงาน
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาคสอบปลายภาค
- นำเสนอและรายงานในชั้นเรียนการสะท้อนความคิด
- การนำเสนอทำงานเป็นทีม
- ความสมบูรณ์ถูกต้องของงานที่มอบหมาย
- นำเสนอและรายงานในชั้นเรียนการสะท้อนความคิด
- การนำเสนอทำงานเป็นทีม
- ความสมบูรณ์ถูกต้องของงานที่มอบหมาย
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลารับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง
- มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
- มีความใฝ่รู้และรับผิดชอบต่อสังคม
- มีจรรยาบรรณ วิชาชีพ ต่อผู้ใช้บริการสังคมและสิ่งแวดล้อม
- มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
- มีความใฝ่รู้และรับผิดชอบต่อสังคม
- มีจรรยาบรรณ วิชาชีพ ต่อผู้ใช้บริการสังคมและสิ่งแวดล้อม
- การกำหนดเกณฑ์การเข้าชั้นเรียน
- การบรรยายคุณธรรม จริยธรรมก่อนการเรียน
- กำหนดเกณฑ์การส่งงาน
- มอบหมายงานในชั้นเรียน
- การบรรยายคุณธรรม จริยธรรมก่อนการเรียน
- กำหนดเกณฑ์การส่งงาน
- มอบหมายงานในชั้นเรียน
- การเข้าชั้นเรียน
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
- ประเมินผลจากการการส่งงานตรงเวลา
- ประเมินผลจากการนำเสนอรายงาน
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
- ประเมินผลจากการการส่งงานตรงเวลา
- ประเมินผลจากการนำเสนอรายงาน
1. มีมนุษยสัมพันธ์ มารยาทสังคม บุคลิกภาพที่ดี
2. การเลือกใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ทั้งภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภา
2. การเลือกใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ทั้งภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภา
- การกำหนดเกณฑ์การเข้าชั้นเรียน
- การบรรยายคุณธรรม จริยธรรมก่อนการเรียน
- กำหนดเกณฑ์การส่งงาน
- มอบหมายงานในชั้นเรียน
- การบรรยายคุณธรรม จริยธรรมก่อนการเรียน
- กำหนดเกณฑ์การส่งงาน
- มอบหมายงานในชั้นเรียน
- การเข้าชั้นเรียน
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
- ประเมินผลจากการการส่งงานตรงเวลา
- ประเมินผลจากการนำเสนอรายงาน
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
- ประเมินผลจากการการส่งงานตรงเวลา
- ประเมินผลจากการนำเสนอรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.ด้านความรู้ | 2.ทักษะ | 3.จริยธรรม | 4.ลักษณะบุคคล | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1. | 2 | 3 | 4. | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | BARCC405 | เขียนแบบขั้นพื้นฐาน |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | PLO 1 Sub PLO 1A PLO 2 Sub PLO 2A Sub PLO 2B | - ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค - ผลการปฏิบัติในงานหรือสถานการณ์ที่มอบหมาย - ประเมินจากการทำรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน ประเมินผลจากรายงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
2 | PLO 1 Sub PLO 1A Sub PLO 1C PLO 2 Sub PLO 2B | - ทดสอบย่อย สอบกลางภาคสอบปลายภาค - นำเสนอและรายงานในชั้นเรียนการสะท้อนความคิด - การนำเสนอทำงานเป็นทีม - ความสมบูรณ์ถูกต้องของงานที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 70% |
3 | PLO 4 Sub PLO 4A Sub PLO 2B | - การเข้าชั้นเรียน - ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค - ประเมินผลจากการการส่งงานตรงเวลา - ประเมินผลจากการนำเสนอรายงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
4 | PLO 4 Sub PLO 4A Sub PLO 2B | - การเข้าชั้นเรียน - ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค - ประเมินผลจากการการส่งงานตรงเวลา - ประเมินผลจากการนำเสนอรายงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
- INTERIOR DESIGN ILLUSTRATED
Francis D.K. Ching , Van nostrandreinhold : New york.
- เขียนแบบช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม
อินทิรา ศตสุข , สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) : กรุงเทพฯ
- การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน
กฤษฎา อินทรสถิตย์ , ซีเอ็ดยูเคชั่น : กรุงเทพฯ
- การเขียนแบบสถาปัตยกรรม
เฉลิม รัตนทัศนีย์ , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรุงเทพฯ
Francis D.K. Ching , Van nostrandreinhold : New york.
- เขียนแบบช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม
อินทิรา ศตสุข , สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) : กรุงเทพฯ
- การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน
กฤษฎา อินทรสถิตย์ , ซีเอ็ดยูเคชั่น : กรุงเทพฯ
- การเขียนแบบสถาปัตยกรรม
เฉลิม รัตนทัศนีย์ , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรุงเทพฯ
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia
คำอธิบายศัพท์เกี่ยวกับการเขียแบบเบื้องต้น
คำอธิบายศัพท์เกี่ยวกับการเขียแบบเบื้องต้น
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์ของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์ของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ