นวัตกรรมวัสดุผลิตภัณฑ์

Product Material Innovation

ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของวัสดุโดยรวม ประเภท การเลือกใช้วัสดุธรรมชาติ วัสดุสังเคราะห์ ศึกษาดูงานทางด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตในระบบอุตสาหกรรม การทดสอบวัสดุ โดยคำนึงถึงผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อประยุกต์ใช้ในการออกแบบ
1. รู้และเข้าใจประเภท การใช้วัสดุเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
2. รู้และเข้าใจลักษณะ สมบัติของวัสดุธรรมชาติ
3. รู้และเข้าใจลักษณะ สมบัติของวัสดุสังเคราะห์
4. เข้าใจขั้นตอนการทดสอบวัสดุ โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. เห็นความสำคัญทางด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตในระบบอุตสาหกรรม โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อประยุกต์ใช้ในการออกแบบ
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของวัสดุโดยรวม ประเภท การเลือกใช้วัสดุธรรมชาติ วัสดุสังเคราะห์ ศึกษาดูงานทางด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตในระบบอุตสาหกรรม การทดสอบวัสดุ โดยคำนึงถึงผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อประยุกต์ใช้ในการออกแบบ
1 ชั่วโมง
(1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
(2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
(3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
(4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา         
  
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา  สอนให้มีระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรมในรายวิชา  ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
(1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
(2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
(3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
(4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา         
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการศึกษาค้นคว้า และการศึกษาดูงานด้านวัสดุท้องถิ่น และวัสดุสังเคราะห์
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
(1) ผลงานการศึกษาค้นคว้า และการศึกษาดูงาน 
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำและการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมิลข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
(2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
(3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
(4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ใช้กรณีศึกษา การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล   การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานที่ได้รับมอบหมายการค้นคว้าจัดทำรายงานของนักศึกษา  และการนำเสนองาน
(1) มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
(2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
(3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบต่องานในตนเองการทำงานเป็นกลุ่มหรือเป็นทีมมอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก  การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
(1)สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
(2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ    ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล  โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล   การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข  การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม   ประเมินจากการอธิบาย  การนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 .ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1
1 BAAID150 นวัตกรรมวัสดุผลิตภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ข้อ 2, 3 ทดสอบย่อย 1-15 30 %
2 ข้อ 2, 3 สอบกลางภาค 9 20 %
3 ข้อ 3, 5 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 8-15 20 %
4 ข้อ 2, 3 สอบปลายภาค 18 20 %
5 ข้อ 1 การเข้าเรียน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10 %
(1) กวี หวังนิเวศน์กุล. วัสดุวิศวกรรมก่อสร้าง. พ.ศ. 2546. สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคซั่น. กรุงเทพมหานคร.
(2) ครายุทธ ศรีทิพยอาสน์. คู่มืองานช่างของคนรักบ้าน. พ.ศ.2557. สำนักพิมพ์บ้านและสวน อัมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง.กรุงเทพมหานคร.
(3) ประณต กุลประสูตร.เทคนิคงานไม้. พิมพ์ครั้งที่ 18. พ.ศ.2557. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพมหานคร.
(4) บรรเลง ศรนิล. เทคโนโลยีพลาสติก. พิมพ์ครั้งที่ 29 (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. 2555. สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). กรุงเทพมหานคร.
(5) บุญธรรม ภัทราจารุกุล. วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม. พ.ศ. 2523. สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคซั่น. กรุงเทพมหานคร.
(6) บ้านและสวน. (2558). คู่มืองานช่างของคนรักบ้าน เครื่องมือ คู่มือ.สำนักพิมพ์อัมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง.กรุงเทพมหานคร.
(7) ณรงค์ศักดิ์ ธรรมโชติ. โลหะวิทยา (METALLUURGY). พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
(8) ไพโรจน์ สิงหถนัดกิจ. กลศาสตร์ของวัสดุคอมโพสิต (MECHANICS OF COMPOS ITE MATERIALS). พิมพ์ครั้งที่ 1  พ.ศ. 2559. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพมหานคร.
(9) มานพ ตันตระบัณฑิตย์. งานทดสอบวัสดุอุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 6 (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. 2546. สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). กรุงเทพมหานคร.
(10) รุ่งอรุณ วัฒนวงศ์. กระดาษ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
(11) รุ่งอรุณ วัฒนวงศ์. แผ่นกระดาษลูกฟูก. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
(12) วัชระ แก้วสุฟอง. ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้. พิมพ์ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2562. บริษัท สำนักพิมพ์วาดศิลป์ จำกัด,กรุงเทพมหานคร.
(13) วารสาร เทคโนโลยีวัสดุ ฉบับที่ 84 มกราคม-มีนาคม 2560 สำนักพิมพ์ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค),กรุงเทพมหานคร.
(14) วิลเลียม ดี คาลิสเตอร์. วัสดุศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุพื้นฐาน (Material: SCIENCE AND ENGINEERING AN  INTRODUCTION). แปลและเรียบเรียงโดย สุวันชัย พงษ์สุกิจวัฒน์ และ คน  อื่นๆ พ.ศ. 2548.บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด, กรุงเทพมหานคร.
[10] สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. เซรามิกวิศวกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานาคร.
(15) สมศักดิ์ ชวาลาวัณย์. เซรามิกส์ (Ceramics). พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2549. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์,กรุงเทพมหานคร.
(16)  เสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์. วัสดุศาสตร์มูลฐาน: Introduction To Materials Science. 1 พ.ศ. 2546. สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
(17) อโนดาษั รัชเวทย์. พอลิเมอร์ (POLYMER). พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555. สำนักพิมพ์ดวงกมลพับลิชซิ่ง, กรุงเทพมหานคร.
(18) Franz F.P. Kollmann and Wilfred A.Jr. Cote. Principles of Wood Science and Technology. 1968. Springer-Verlag Berlin Heidelberg Publisher, New York, United States.
(19) Martin P Ansell. Wood Composites. 2015, Woodhead Publishing, Sawston, Cambridge.
(20) Michael F. Ashby and Kara John. Materials and Design: The Art and Science of Material Selection in Product Design. 3rd Edition: 2014. Butterworth-Heinemann Publisher, British
(21) William D. Callister and David G. Rethwisch. Materials Science and Engineering. 9th Edition Sl Version:  2014. John Wiley & Sons, Inc. New York, United States.
ไม่มี
เว็บไซต์ TCDC
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง สัมมนาการจัดการเรียนการสอนและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4