การเขียนภาพทางสถาปัตยกรรม
Architectural drawing
1. เพื่อให้นักศึกษามี ความรู้ ความเข้าใจพื้นฐาน เกี่ยวกับการเขียนภาพร่างทางสถาปัตยกรรม และ หลักการแสดงผลงาน
2. เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ เขียนภาพร่างทางสถาปัตยกรรมด้วยเทคนิค Drawing และ Painting
3. เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ เขียนภาพร่างนอกสถานที่เพื่อพัฒนาทักษะ สุนทรียะและความคิดสร้างสรรค์
4. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึง ความรับผิดชอบและการมีส่วนรวม ในกิจกรรมการเรียนการสอน
2. เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ เขียนภาพร่างทางสถาปัตยกรรมด้วยเทคนิค Drawing และ Painting
3. เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ เขียนภาพร่างนอกสถานที่เพื่อพัฒนาทักษะ สุนทรียะและความคิดสร้างสรรค์
4. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึง ความรับผิดชอบและการมีส่วนรวม ในกิจกรรมการเรียนการสอน
จากการสอบถามผู้เรียนและผู้สอนในปีการศึกษาก่อนหน้า ได้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เป็นความต้องการดังนี้
1. ต้องการให้นักศึกษามี ความรู้ ความเข้าใจ เนื้อหารายวิชา ผ่างงานปฏิบัติในสถานที่จริง ตามกรอบ area base (Lanna)
2. ต้องการให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จาก วิทยาการพิเศษ/ผู้ประกอบการ ทางด้านการเขียนภาพทางสถาปัตยกรรม
3. ต้องการให้ปูพื้นฐาน สิ่งที่จำเป็น เพื่อส่งต่อรายวิชาในชั้นปีที่สูงขึ้น เช่น วินัย ทัศนคติ ประสบการณ์ (ด้านงานสถาปัตยกรรม) เป็นต้น
1. ต้องการให้นักศึกษามี ความรู้ ความเข้าใจ เนื้อหารายวิชา ผ่างงานปฏิบัติในสถานที่จริง ตามกรอบ area base (Lanna)
2. ต้องการให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จาก วิทยาการพิเศษ/ผู้ประกอบการ ทางด้านการเขียนภาพทางสถาปัตยกรรม
3. ต้องการให้ปูพื้นฐาน สิ่งที่จำเป็น เพื่อส่งต่อรายวิชาในชั้นปีที่สูงขึ้น เช่น วินัย ทัศนคติ ประสบการณ์ (ด้านงานสถาปัตยกรรม) เป็นต้น
ศึกษาความรู้พื้นฐาน เทคนิคในการเขียนเส้น ภาพร่างทางสถาปัตยกรรม หลักการแสดงผลงาน ฝึกปฏิบัติการเขียนภาพร่าง และภาพทัศนียภาพนอกสถานที่ เพื่อพัฒนาทักษะ สุนทรียะและความคิดสร้างสรรค์
อาจารย์ผู้สอนพิจารณา จัดให้ตามสมควร (เป็นรายบุคคล)
1. อธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม โดย
- อธิบายพื้นฐานในการเขียนภาพทางสถาปัตยกรรม ทัศนียภาพ เทคนิคในการเขียนเส้น ภาพร่าง โดยใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องเขียน
- อธิบายหลักการและเทคนิคการใช้สีประกอบการเขียนภาพทางสถาปัตยกรรม หลักการแสดงผลงาน
- อธิบายและเปรียบเทียบข้อแตกต่างของการแสดงภาพและแบบทางสถาปัตยกรรมระหว่างเทคนิคการเขียนเส้นกับเทคนิคการลงสี
- เปรียบเทียบการใช้ชนิด ประเภทของวัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนภาพและแสดงภาพทางสถาปัตยกรรม เพื่อให้เกิดสุนทรียภาพ
2. อธิบายหลักการออกแบบทางสถาปัตยกรรม และข้อแตกต่างของวิธีการ เครื่องมือ เทคโนโลยีในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม
3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม
- อธิบายพื้นฐานในการเขียนภาพทางสถาปัตยกรรม ทัศนียภาพ เทคนิคในการเขียนเส้น ภาพร่าง โดยใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องเขียน
- อธิบายหลักการและเทคนิคการใช้สีประกอบการเขียนภาพทางสถาปัตยกรรม หลักการแสดงผลงาน
- อธิบายและเปรียบเทียบข้อแตกต่างของการแสดงภาพและแบบทางสถาปัตยกรรมระหว่างเทคนิคการเขียนเส้นกับเทคนิคการลงสี
- เปรียบเทียบการใช้ชนิด ประเภทของวัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนภาพและแสดงภาพทางสถาปัตยกรรม เพื่อให้เกิดสุนทรียภาพ
2. อธิบายหลักการออกแบบทางสถาปัตยกรรม และข้อแตกต่างของวิธีการ เครื่องมือ เทคโนโลยีในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม
3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม
- สอนแบบบรรยายร่วมกับการอภิปราย
- การสอนแบบเชิงรุก (Active Learning)
- การเรียนรู้นอกห้องเรียน
- การสอนแบบเชิงรุก (Active Learning)
- การเรียนรู้นอกห้องเรียน
- ประเมินจากคุณภาพผลงานของผู้เรียน
- ประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายผล
- ประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายผล
1. ประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษ ฎีพื้นฐานและหลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม โดย
- เขียนภาพทางสถาปัตยกรรมโดยใช้เทคนิคในการเขียนเส้น ภาพร่าง โดยใช้อุปกรณ์เครื่องเขียน
2. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม
- ใช้เทคนิคการแสดงแบบด้วยสีในการเขียนภาพทางสถาปัตยกรรม
- จัดแสดงงานภาพและแบบทางสถาปัตยกรรมด้วยองค์ประกอบศิลป์
- เขียนภาพทางสถาปัตยกรรมโดยใช้เทคนิคในการเขียนเส้น ภาพร่าง โดยใช้อุปกรณ์เครื่องเขียน
2. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม
- ใช้เทคนิคการแสดงแบบด้วยสีในการเขียนภาพทางสถาปัตยกรรม
- จัดแสดงงานภาพและแบบทางสถาปัตยกรรมด้วยองค์ประกอบศิลป์
- ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน
- การใช้กรณีศึกษา การออกแบบสร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
- การเรียนการสอนที่เน้นการเลือกใช้เครื่องมือเพื่อการเขียนภาพและแบบในการสื่อสารความหมาย
- การใช้กรณีศึกษา การออกแบบสร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
- การเรียนการสอนที่เน้นการเลือกใช้เครื่องมือเพื่อการเขียนภาพและแบบในการสื่อสารความหมาย
- ความถูกต้องสมบูรณ์ของงานที่มอบหมาย
- ผลงานภาพเขียนทางสถาปัตยกรรม
- ผลงานภาพเขียนทางสถาปัตยกรรม
- ไม่มี -
1. ปฏิบัติตามวินัยและความรับผิดชอบพื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา
2. มุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ใช้ทักษะและความรู้เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย
2. มุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ใช้ทักษะและความรู้เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย
- การปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
- สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษย์สัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม
- สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษย์สัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม
- การเข้าเรียน การส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนดระยะเวลาที่
- ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน
- ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ความรู้ (Knowledge) | 2. ทักษะ (Skills) | 3. จริยธรรม (Ethics) | 4. ลักษณะบุคคล (Character) | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 อธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม | 1.2 อธิบายหลักการออกแบบทางสถาปัตยกรรม และข้อแตกต่างของวิธีการ เครื่องมือ เทคโนโลยีในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม | 1.3 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม | 1.4 อธิบายหลักการ และกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรมในงานออกแบบสถาปัตยกรรม | 1.5 อธิบายหลักการ ช้อบังคับ กฎหมาย จรรยาบรรณทางวิชาชีพและคุณสมบัติของสถาปนิกผู้ประกอบการ | 2.1 ประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีพื้นฐานและหลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม | 2.2 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม | 2.3 วิเคราะห์และจำลองอาคารโดยใช้เครื่องมือ เทคโนโลยี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม | 2.4 สร้างสรรค์สถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วยหลักการ กระบวนการคิดเชิงนวัตกรรม | 2.5 ผสมผสานหลักการ ทฤษฎี และทักษะทางสถาปัตยกรรมเข้ากับบริบทการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรม | 3.1 เลือกใช้กฎหมายและข้อบังคับทางวิชาชีพสถาปัตยกรรม | 3.2 ให้ความร่วมมือในทีมงาน ช่วยเหลือชุมชนและสังคม | 3.3 ยอมรับคุณค่าทางความคิดและทรัพย์สินทางปัญญา | 3.4 ยอมรับในความแตกต่างของบุคคล เคารพในสิทธิและเสรีภาพของการแสดงความคิดเห็น | 4.1 ปฏิบัติตามวินัยและความรับผิดชอบพื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา | 4.2 อธิบายและสื่อสารกับผู้อื่นด้วยความรู้และทักษะทางสถาปัตยกรรม | 4.3 มุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ใช้ทักษะและความรู้เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย | 4.4 ริเริ่มพัฒนางานสถาปัตยกรรมด้วยการคิดอย่างมีระบบ |
1 | BARCC406 | การเขียนภาพทางสถาปัตยกรรม |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ความรู้ (Knowledge) | - อธิบายความรู้พื้นฐาน เทคนิคในการเขียนเส้น ภาพร่างทางสถาปัตยกรรม | ทุกสัปดาห์/ สัปดาห์สอบปลายภาค | 40% |
2 | ทักษะ (Skills) | - งานที่มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้า/ ฝึกปฏิบัติการเขียนภาพร่างทางสถาปัตยกรรม/ นำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย | ทุกสัปดาห์/ สัปดาห์สอบปลายภาค | 35% |
3 | จริยธรรม (Ethics) | - เคารพสิทธิและเสรีภาพในการแสดงออกและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน | ทุกสัปดาห์ | 5% |
4 | ลักษณะบุคคล (Character) | - การเข้าชั้นเรียน/ การส่งงาน/ การเข้าสอบตรงต่อเวลา | ทุกสัปดาห์ | 20% |
มีระบบการประเมินอาจารย์ผู้สอนในรายวิชา (ในระบบ ก่อนสัปดาห์สอบปลายภาค)
ถึง ระดับค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ของนักศึกษาต่อคุณภาพ การสอนของอาจารย์ ประกอบด้วย
1. ด้านการสอน
2. ด้านสื่อการสอน
3. ด้านผลประเมิน
4. ด้านบุคลิกภาพและจริยธรรมของผู้สอน
ถึง ระดับค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ของนักศึกษาต่อคุณภาพ การสอนของอาจารย์ ประกอบด้วย
1. ด้านการสอน
2. ด้านสื่อการสอน
3. ด้านผลประเมิน
4. ด้านบุคลิกภาพและจริยธรรมของผู้สอน
มีการทวนสอบรายวิชา และการประชุมอาจารย์ผู้สอนรายวิชา
มีการปรับปรุงการสอนทุกภาคการศึกษา โดยนำ ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
และการทวนสอบรายวิชา มาเป็นประเด็นในการหาแนวทางการปรับปรุงการสอน
และการทวนสอบรายวิชา มาเป็นประเด็นในการหาแนวทางการปรับปรุงการสอน
มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยคณะกรรมการทวนสอบ
เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของการให้คะแนน กับกระดาษคำตอบ รวมทั้งประเมินด้วยวิธีอื่นที่กำหนดในรายละเอียดวิชา
รวมทั้งการการอุทรณ์ การประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา (ถ้ามี)
1. มีเอกสารแนะนำรายวิชา เนื้อหาการสอน การสอบและวันเวลา สถานที่ ที่ระบุไว้ชัดเจน
2. มีการเช็คชื่อ แจ้งข่าวสารและตอบข้อซํกถามของ นศ. ก่อนเริ่มชั้นเรียนในทุกสัปดาห์ (Home room)
3. มีการแจ้ง จำนวนงานปฏิบัติที่ส่ง /คงค้าง และคะแนนเก็บ เป็นระยะ (4 สัปดาห์/ ครั้ง/ เป็นรายบุคคล)
4. เปิดโอกาศให้ นศ. Regrade ชิ้นงานที่ได้คะแนนต่ำ
5. จัดให้มีการประชุมส่งเกรด (ร่วม/ โดย ผู้รับผิดชอบหลักสูตร กับอาจารย์ผู้สอนรายวิชา)
หรือ การทวนสอบตามที่ระบุไว้ใน มคอ. 3
เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของการให้คะแนน กับกระดาษคำตอบ รวมทั้งประเมินด้วยวิธีอื่นที่กำหนดในรายละเอียดวิชา
รวมทั้งการการอุทรณ์ การประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา (ถ้ามี)
1. มีเอกสารแนะนำรายวิชา เนื้อหาการสอน การสอบและวันเวลา สถานที่ ที่ระบุไว้ชัดเจน
2. มีการเช็คชื่อ แจ้งข่าวสารและตอบข้อซํกถามของ นศ. ก่อนเริ่มชั้นเรียนในทุกสัปดาห์ (Home room)
3. มีการแจ้ง จำนวนงานปฏิบัติที่ส่ง /คงค้าง และคะแนนเก็บ เป็นระยะ (4 สัปดาห์/ ครั้ง/ เป็นรายบุคคล)
4. เปิดโอกาศให้ นศ. Regrade ชิ้นงานที่ได้คะแนนต่ำ
5. จัดให้มีการประชุมส่งเกรด (ร่วม/ โดย ผู้รับผิดชอบหลักสูตร กับอาจารย์ผู้สอนรายวิชา)
หรือ การทวนสอบตามที่ระบุไว้ใน มคอ. 3
- มีการทวนสอบตามที่ระบุไว้ใน มคอ. 5 (หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา/ ข้อที่ 7 การทวนสอบผลสัมฤทธิ์นักศึกษา)
- มีการประชุม อาจารย์ผู้สอนรายวิชา เพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ก่อนเปิดภาคการศึกษา
- มีการประชุม อาจารย์ผู้สอนรายวิชา เพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ก่อนเปิดภาคการศึกษา