ภาษาอังกฤษเพื่อการค้าระหว่างประเทศ
English for International Trade
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการฟัง พูด อ่าน และเขียน ภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ และ เพื่อให้นักศึกษารู้ศัพท์ สำนวนภาษาอังกฤษธุรกิจที่ใช้ในธุรกิจการค้าระหว่างประเทศทั้งในศัพท์ทางการค้าระหว่างประเทศ ในรูปแบบที่อยูบน Online Platform
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ทั้งในด้านข้อมูลข่าวสารด้านธูรกิจระหว่างประเทศที่ทันสมัย และพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษที่ใช้สำหรับการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะในสถานการณ์ทางธุรกิจการค้าระหว่างประเทศโดยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้นักศึกษาผ่านการทำโครงการบริการวิชาการ รวมถึงการศึกษา Terms ต่างๆที่จำเป็นใช้ในการดำเนินธรกิจระหว่างประเทศ และศึกษาถึงกรณีศึกษาของการการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศในรูปแบบร่วมสมัย ทั้งในรูปแบบของการค้าแบบ online และ off line (ที่เป็นปัจจุบัน)
ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ คำศัพท์ สำนวนภาษาอังกฤษทางธุรกิจที่ใช้สำหรับธุรกิจต่างประเทศ
ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา
รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา
รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา
การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย มีการกำหนดงานเป็นงานกลุ่ม เน้นเสริมให้เกิดทักษะการเป็นผู้นำกลุ่ม และการเป็นสมาชิกกลุ่มที่ดี เน้นการมีส่วนร่วม การรับฟัง และการแสดงความคิดเห็น
การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย มีการกำหนดงานเป็นงานกลุ่ม เน้นเสริมให้เกิดทักษะการเป็นผู้นำกลุ่ม และการเป็นสมาชิกกลุ่มที่ดี เน้นการมีส่วนร่วม การรับฟัง และการแสดงความคิดเห็น
การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
มีความรู้ และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา และสามารถนำมาปรับใช้ได้ดีในการดำรงชีวิตประจำวัน
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
มอบหมายให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเป็น 3 กลุ่มเพื่อจัดเป็นกลุ่มในการทำงานเป็นทีม โดยนักศึกษาจะต้องนำความรู้ที่ได้ศึกษาไปช่วยเหลือวิสาหกิจชุมชน ในหลากหลายประเภทธุรกิจ ชุมชน ในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้นักศึกษารู้จักการปรับใช้ความรู้ ความสามารถทางภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการค้าระหว่างประเทศที่ได้เรียนมาเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น ได้รู้จักการทำงานเป็นทีม การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การนำเทคนิคที่ได้เรียนมาเสริมสร้างมูลค่าให้กับวิสาหกิจชุมชน ธุรกิจในชุมชนที่ตนได้อาศัยอยู่ และเข้าใจการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมมากขึ้น อันจะนำไปสู่การเข้าใจ และมีมุมมองด้านการทำธุรกิจการค้าระหว่างประเทศที่ได้เรียนไปได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
ประเมินจากงานที่มอบหมายให้นักศึกษา
ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
การทำงานบริการวิชาการช่วยเหลือ วิสาหกิจชุมชน ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
การทำงานบริการวิชาการช่วยเหลือ วิสาหกิจชุมชน ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศน์ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
1. ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการการคิดอย่างเป็นระบบจากระดับง่่าย ไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามลำดับขั้นการศึกษา
โดยใช้การ การมอบหมายงาน การให้โจทย์ แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และจัดให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
กลุ่มผู้เรียน ( 2 sections) เพื่อจัดเป็นกลุ่มในการทำงานเป็นทีมนำความรู้ที่ได้ไปช่วยเหลือวิสาหกิจชุมชน ในหลากหลายอำเภอ ชุมชน ในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้นักศึกษารู้จักการนำเอาความรู้ที่ได้เรียนมาแล้วนำไปปรับใช้เพื่อช่วยเหลือผู้อื่น รู้จักการทำงานเป็นทีม เข้าใจการทำธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมมากขึ้น อันจะนำไปสู่การเข้าใจ และมองเห็นภาพของการทำธุรกิจการค้าระหว่างประเทศที่ได้เรียนไปแล้วให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่ได้เรียนมา โดยประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียน พร้อมทั้งรูปเล่มเอกสารรายงานบริการวิชาการ พร้อมทั้งบททดสอบความรู้ (ข้อสอบ กลางภาค และปลายภาค ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือคือมอบหมายให้นักศึกษา 2 กลุ่มเรียน (Setion) ค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อจัดทำการบริการวิชาการ โดยการใช้ภาษาอังกฤษทางธุรกิจในการส่งเสริมการค้า ให้กับวิสาหกิจชุมชนรายย่อยในหลากหลายอำเภอใน จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็นการให้นักศึกษา รู้จักการืำงานเป็นทีม และรู้จักการนำสิ่งที่ได้เรียนไปใช้เพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน ประเมินผลจากการปฏิบัติ
งานการทำงานเป็นทีม และผบที่ได้รับ อีกทั้งให้นักศึกษาได้สามารถประเมินผลของการทำงานเป็นกลุ่มในโครงการบริการวิชาการของทั้ง 3 กลุ่มเองได้ด้วย
สามารถสื่อสารภาษาไทย และภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจการค้าระหว่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์ และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง หรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม
การให้ความร่วมมือ คือมอบหมายให้นักศึกษา 2 กลุ่มผู้เรียน ( 2 sections) เพื่อจัดเป็นกลุ่มในการทำงานเป็นทีม โดยการนำความรู้ที่ได้เรียนไปช่วยเหลือวิสาหกิจชุมชน ในหลากหลายประเภทธุรกิจ ชุมชน ในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้นักศึกษารู้จักการนำเอาความรู้ที่ได้เรียนมาไปปรับใช้เพื่อช่วยเหลือผู้อื่น รู้จักการทำงานเป็นทีม เข้าใจการทำธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมมากขึ้น อันจะนำไปสู่การเข้าใจ และมองเห็นภาพการทำธุรกิจการค้าระหว่างประเทศตามที่ได้เรียนไปแล้วได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษธุรกิจในบริบทของการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาเพื่อสื่อช่วยเหลือ เพิ่มทักษะให้แก่ ชุมชน ชาวบ้าน และวิสาหกิจชุมชน
สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อ เทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสาร และเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง
ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอผลงานด้วยวาจาที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์ สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจการค้าระหว่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอผลงานด้วยวาจาที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์ สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจการค้าระหว่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล เพื่อใช้ในการค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อจัดทำการบริการวิชาการ โดยการใช้ภาษาอังกฤษทางธุรกิจในการส่งเสริมการค้า ให้กับชุมชน การนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
มีการนำเสนอผลงานด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ผลงานของการทำโครงงานตามสถานการณ์ปัจจุบัน หรือการทำโครงงการบริการวิชาการ และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสารของนักศึกษาเพื่อสื่อสารทั้งใน และนอกชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2.ด้านความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ | ||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจ | 2. มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม | 3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม | 4. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ | 5. มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | 6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม | 8. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง | 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง | มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน | 3. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ | 4. มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน | 5. สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด | 6. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ | 7. รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง | 9. มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในงานได้จริง | 1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง | 2. สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งหันทางธุรกิจ | 3. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป | 4. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ | 5. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม | 1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ | 2. มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 3. มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือ ในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน | 4. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง | 5. สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 6. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม | 7. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม | 1. สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน | 2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ | 3. สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 4. มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ | 5. สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ | 6. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 3.กลยุทธ์การประเมินผลกสรเรียนรู้ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) |
1 | BBABA754 | ภาษาอังกฤษเพื่อการค้าระหว่างประเทศ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | บทเรียนที่ 1-4 | สอบกลางภาค | สัปดาห์ที่ 8 | 20% |
2 | Unit 1-10 | วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย การนำเสนองานตามรายงานที่ได้ค้นคว้ามา | ตลอดภาคการศึกษา | 30 % |
3 | 1.1-1.7, 3.1 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 % |
4 | Unit 1-10 | สอบปลายภาค | สัปดาห์ที่ 17 | 25 % |
5 | กิจกรรมจิตอาสา (บริการวิชาการ) ใน "โครงการบริการวิชาการครูได้สอน นักศึกษาได้ฝึก ชุมชนได้โอกาส" ซึ่งอยูาในโครงการบริการวิชาการย่อยของหลักสูตรBE ในโครงการ บริการวิชาการ BE เพื่อวิสาหกิจชุมชน (ซึ่งเป็นโครงการต่อยอด จัดทำขึ้นในทุกๆภาคการศึกษา) | การทำงานเป็นทีม รูปเล่มรายงาน และการนำเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ | ตลอดภาคการศึกษา แต่ในสัปดาห์ที่ 16 (นำเสนอผลงาน และส่งรายงานรูปเล่ม) | 15 % |
English for International Business and Trade (12041410) David Cotton, David Falvey and SimonKent. 2003.
Intermediate Business English, Market Leader. Longman Paul Emmerson,2013,
Business English (advanced), The Whole of Business in one book, Macmillan Sucharat Rimkeeratikul. 2004.
English for Import – Export Busines, Thammasat University Press
Elementary , Business English Practice File, Market Leader, Pearson, FT Publishing, 2013
Intermediate Business English, Market Leader. Longman Paul Emmerson,2013,
Business English (advanced), The Whole of Business in one book, Macmillan Sucharat Rimkeeratikul. 2004.
English for Import – Export Busines, Thammasat University Press
Elementary , Business English Practice File, Market Leader, Pearson, FT Publishing, 2013
Financial Times,
World Business Newspaper (online)
A Complete Guide to Developing an Effective Business Writing Style
World Business Newspaper (online)
A Complete Guide to Developing an Effective Business Writing Style
Longman Dictionary of Contemporary English
All Web sites which related to International Business and Trade
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านระบบออนไลน์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา Face book และ Line และ Microsoft Team
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านระบบออนไลน์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา Face book และ Line และ Microsoft Team
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์การมีปฏิสัมพันธ์ในทางวิชาการ และกิจกรรมที่นักศึกษาได้รับ
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์การมีปฏิสัมพันธ์ในทางวิชาการ และกิจกรรมที่นักศึกษาได้รับ
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน
โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3 ทำ KM ในหลักสูตรวิชาเอก
โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3 ทำ KM ในหลักสูตรวิชาเอก
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการตรวจรายงาน
และการนำเสนองานจิตอาสา บริการวิชาการด้านภาษาอังกฤษธุรกิจที่ใช้ในการค้า (เป็นภาษาอังกฤษในเชิงธุรกิจ) ของนักศึกษา
เพื่อเป็นการทวนว่าสิ่งที่นักศึกษาได้ศึกษาไปนั้นมีผลออกมาเป็นอย่างไร
และการนำเสนองานจิตอาสา บริการวิชาการด้านภาษาอังกฤษธุรกิจที่ใช้ในการค้า (เป็นภาษาอังกฤษในเชิงธุรกิจ) ของนักศึกษา
เพื่อเป็นการทวนว่าสิ่งที่นักศึกษาได้ศึกษาไปนั้นมีผลออกมาเป็นอย่างไร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ
เรียนสอน และรายละเอียดเนื้อหาในรายวิชานี้ เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังต่อไปนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก1- 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม
ข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน รวมทั้งเรียนเชิญวิทยากรผู้ชำนาญเฉพาะด้านมาบรรยายเพิ่มเติม
เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือ
ในภาคธุรกิจการค้าระหว่างประเทศต่าง ๆ
5.3 นำนักศึกษาเข้าร่วมฟังสัมมนาทางวิชาการจากกระทรวงพาณิชย์ ที่จะมีวาระจัดในจังหวัดเชียงใหม่
ทุกปี