เคมีสำหรับวิศวกร
Chemistry for Engineers
1. เข้าใจพื้นฐานทางทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม
2. เข้าใจสมบัติของธาตุตามตารางธาตุพีริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ ธาตุอโลหะและธาตุแทรนซิชัน
พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย
จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ
3. นำความรู้ทางเคมีไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและใช้ในชีวิตประจำวัน
2. เข้าใจสมบัติของธาตุตามตารางธาตุพีริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ ธาตุอโลหะและธาตุแทรนซิชัน
พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย
จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ
3. นำความรู้ทางเคมีไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและใช้ในชีวิตประจำวัน
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีทางเคมีที่เป็นพื้นฐานสำคัญทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
2. นักศึกษาสามารถนำความรู้และทักษะต่างๆ ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อให้เนื้อหามีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน
และเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
2. นักศึกษาสามารถนำความรู้และทักษะต่างๆ ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อให้เนื้อหามีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานทางทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม สมบัติของธาตุตามตารางธาตุพีริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ ธาตุอโลหะและธาตุแทรนซิซัน พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ
3
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ด้านคุรธรรมจริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ด้านทักษะพิสัย | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด 2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน | 1. บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ 2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง 3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ | 1. ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ 2. อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน 3. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน | 1. ทำปฏิบัติการ 2. ให้นำเสนอผลการทดลอง โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน | 1. สามารถวิเคราะห์ผลการทดลองได้โดยสามารถประมวลผลเปรียบเทียบค่าความคลาดเคลื่อนได้ 2. นำเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองได้โดยการใช้กราฟ | - |
1 | FUNSC201 | เคมีสำหรับวิศวกร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.3, 2.1 , 2.3, 3.2 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | สัปดาห์ที่ 9 และ สัปดาห์ที่ 17 | 35 % 35 % |
2 | 1.3, 1.4, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 | วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 20 % |
3 | 1.3, 1.4, 2.1, 2.2 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 % |
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
1) อินทิรา หาญพงษ์พันธ์, เคมีทั่วไปสำหรับนิสิตวิศวกรรมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 6, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, 2539.
2) ชัยยุทธ ช่างสาร, เลิศณรงค์ ศรีพนม, เคมีสำหรับวิศวกร, พิมพ์ครั้งที่ 1, บริษัท ว. เพ็ชรสกุล จำกัด,
กรุงเทพฯ, 2545.
3) คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตร์สาขาเคมี ทบวงมหาวิทยาลัย, เคมีเล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 7,
สำนักพิมพ์บริษัทไทยร่มเกล้าจำกัด, กรุงเทพฯ, 2536.
4) สันทัด ศิริอนันท์ไพบูลย์, เคมีวิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์บริษัทซีเอ็ดยูเคชันจำกัด
(มหาชน) , กรุงเทพฯ, 2542.
5) อุดม ศรีโยธา, เคมีทั่วไป เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ, 2521.
6) ประภาณี เกษมศรี ณ อยุธยา, เคมีทั่วไป เล่ม 1, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 5, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535.
7) โครงการตำราและเอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่, 2538.
8) ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์, หลักเคมี 2, พิมพ์ครั้งที่ 2, สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ, 2532.
9) ชัยยุทธ ช่างสาร, เลิศณรงค์ ศรีพนม, เคมีประยุกต์, พิมพ์ครั้งที่ 1, บริษัท ว. เพ็ชรสกุล
จำกัด, กรุงเทพฯ, 2543.
10) ศักดา ไตรศักดิ์, โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมีบนพื้นฐานทฤษฎีควันตัม, พิมพ์ครั้งที่ 2, โครงการ
ตำราคณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ, 2540.
11) L.S. Brown and T.A. Holme, “Chemistry for Engineering Students”, Thomson and
Brooks/Cole, USA (2006).
1) อินทิรา หาญพงษ์พันธ์, เคมีทั่วไปสำหรับนิสิตวิศวกรรมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 6, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, 2539.
2) ชัยยุทธ ช่างสาร, เลิศณรงค์ ศรีพนม, เคมีสำหรับวิศวกร, พิมพ์ครั้งที่ 1, บริษัท ว. เพ็ชรสกุล จำกัด,
กรุงเทพฯ, 2545.
3) คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตร์สาขาเคมี ทบวงมหาวิทยาลัย, เคมีเล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 7,
สำนักพิมพ์บริษัทไทยร่มเกล้าจำกัด, กรุงเทพฯ, 2536.
4) สันทัด ศิริอนันท์ไพบูลย์, เคมีวิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์บริษัทซีเอ็ดยูเคชันจำกัด
(มหาชน) , กรุงเทพฯ, 2542.
5) อุดม ศรีโยธา, เคมีทั่วไป เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ, 2521.
6) ประภาณี เกษมศรี ณ อยุธยา, เคมีทั่วไป เล่ม 1, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 5, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535.
7) โครงการตำราและเอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่, 2538.
8) ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์, หลักเคมี 2, พิมพ์ครั้งที่ 2, สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ, 2532.
9) ชัยยุทธ ช่างสาร, เลิศณรงค์ ศรีพนม, เคมีประยุกต์, พิมพ์ครั้งที่ 1, บริษัท ว. เพ็ชรสกุล
จำกัด, กรุงเทพฯ, 2543.
10) ศักดา ไตรศักดิ์, โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมีบนพื้นฐานทฤษฎีควันตัม, พิมพ์ครั้งที่ 2, โครงการ
ตำราคณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ, 2540.
11) L.S. Brown and T.A. Holme, “Chemistry for Engineering Students”, Thomson and
Brooks/Cole, USA (2006).
1) ตารางธาตุ
2) แบบจำลองอะตอมและพันธะเคมี
3) แบบจำลองโครงสร้างผลึกของของแข็ง
2) แบบจำลองอะตอมและพันธะเคมี
3) แบบจำลองโครงสร้างผลึกของของแข็ง
1) http://www.ipst.ac.th/chemistry/home.html
2) http://chemistry.about.com/od/branchesofchemistry/Chemistry_Disciplines.htm
2) http://chemistry.about.com/od/branchesofchemistry/Chemistry_Disciplines.htm
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ร่วมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ร่วมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับเปลี่ยนเทคนิคการสอนให้มีความทันสมัยและมีความหลายหลาย เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษา
มีความสนใจและตั้งใจเรียนรู้ในเนื้อหารายวิชามากขึ้น เช่น การสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษหรือการใช้ศัพท์เทคนิคต่างๆ ที่สำคัญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับเปลี่ยนเทคนิคการสอนให้มีความทันสมัยและมีความหลายหลาย เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษา
มีความสนใจและตั้งใจเรียนรู้ในเนื้อหารายวิชามากขึ้น เช่น การสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษหรือการใช้ศัพท์เทคนิคต่างๆ ที่สำคัญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี