วิทยาการคอมพิวเตอร์ในชุมชน สถานประกอบการ และองค์กร
Computer Science in Community, Company and Coperation
ศึกษาค้นคว้าปัญหาและเรื่องที่สนใจทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์
ฝึกการทำงานทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
รวบรวม เรียบเรียง และสรุปข้อคิดเห็นเพื่อนำเป็นข้อเสนอต่อที่ประชุมกลุ่มสัมมนา
เพิ่มเนื้อหาส่วนการใช้ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาปรับใช้ในงานที่ได้รับมอบหมาย
เพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่นสื่อทางอินเทอร์เน็ต มาช่วยในการค้นคว้า และนำเทคโนโลยีมัลติเมียมาช่วยในการนำเสนองาน
บูรณาการด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์กับสถานประกอบการ หน่วยงานชุมชน หรือองค์กรภายนอก ที่สร้างนวัตกรรม เทคโนโลยี และนำคอมพิวเตอร์ไปใช้แก้ไขปัญหา เพื่อเข้าใจ มีความรู้และทักษะ แรงจูงใจ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพ และใช้ประกอบการตัดสินใจในการเลือกสายวิชาชีพเฉพาะทาง โดยการเยี่ยมชมสถานที่จริง และมีการอภิปรายร่วมกัน
Integrate computer science in community company and cooperation, local organization or external organization that create innovation and technology. Using Computer to solve problem that lead to understand knowledge and skill motivation and required characteristic for career and skills that need to be specialize. To discuss collaborative group.
Integrate computer science in community company and cooperation, local organization or external organization that create innovation and technology. Using Computer to solve problem that lead to understand knowledge and skill motivation and required characteristic for career and skills that need to be specialize. To discuss collaborative group.
6
สอดแทรกกฏระเบียบการแต่งกายของนักศึกษาที่ถูกต้อง
สอดแทรกให้นักศึกษาตระหนักถึงความรับผิดชอบในการทำงานเป็นทีม
สอนให้นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม ในการนำผลงานของผู้อื่นมาใช้ในงานของตนเอง โดยต้องมีการอ้างอิงให้ถูกต้อง
การประเมินจากความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
การประเมินจากความตรงเวลาในการส่งงาน และการร่วมกิจกรรม
การประเมินจากวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
สอบถามความก้าวหน้าการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
การศึกษาดูงานและหรือเชิญวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญมาบรรยาย เฉพาะเรื่อง
การศึกษาที่เน้นค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
ลงพื้นที่ปฏิบัติงานจริง
การสังเกตพฤติกรรมและประเมินความเข้าใจในเนื้อหาที่นำมาเสนอ
ประเมินจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากผู้ประกอบการหรือผู้มีส่วนได้เสียกับโจทย์ที่ให้
การมอบหมายงานหรือกรณีศึกษาที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ไขปัญหา
การศึกษาค้นคว้าการเขียนรายงานและการนำเสนอผลงาน
การสอนแบบตั้งคำถาม และแลกเปลี่ยน ซักถามตอบ
การประเมินจากการตอบคำถามในห้องเรียน
การประเมินจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
การประเมินจากผลงานที่ได้รับจากโจทย์ชุมชน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | PLO 1 : มีคุณธรรมจริยธรรม มีเจตนคติที่ดีในการประกอบวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม | PLO 2 : มีความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องได้ | PLO 3 : มีความคิดสร้างสรรค์ พัฒนางานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ให้ประยุกต์กับงานด้านอื่น ๆ ได้ | ||
---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1A ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้ (2.1.1 และ 2.1.3) | 2A มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (2.2.1) | 3A สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (2.2.8) |
1 | BSCCS105 | วิทยาการคอมพิวเตอร์ในชุมชน สถานประกอบการ และองค์กร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต | การเข้าชั้นเรียน | 1-16 | 10% |
2 | ได้รับความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | การมีส่วนร่วมกิจกรรมและร่วมแสดงความคิดเห็น | 1-16 | 10% |
3 | ได้รับความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | การนำเสนองาน หัวข้อที่น่าสนใจ และสรุปความต้องการระบบ | 4-7, 9-11 | 30% |
4 | ได้รับความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | การนำเสนองานภาคปฏิบัติ | 14-15 | 30% |
5 | สร้างเจตนคติที่ดีในการประกอบวิชาชีพ และเกิดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม ได้รับความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องได้ รวมถึงเกิดความคิดสร้างสรรค์ พัฒนางานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ให้ประยุกต์กับงานด้านอื่น ๆ ได้ | การค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งวิชาการต่าง ๆ การนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่ตอบโจทย์ หรือความต้องการของภาคชุมชน หน่วยงาน น้ัน ๆ | 1-16 | 20% |
คู่มือปัญหาพิเศษ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงและปริญญาตรี
ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศึกษาข้อมูลผ่านเว็บไซด์ในหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ
1.1 ซักถามในชั้นเรียน จากการลงพื้นที่หน่วยงาน
1.2 เข้าร่วมฟังการบรรยายจากวิทยากร
1.3 พิจารณารายงานสรุปการลงพื้นที่แต่ละครั้ง
1.3 ประเมินผลจากหัวข้อที่นักศึกษานำเสนอโครงร่าง
1.2 เข้าร่วมฟังการบรรยายจากวิทยากร
1.3 พิจารณารายงานสรุปการลงพื้นที่แต่ละครั้ง
1.3 ประเมินผลจากหัวข้อที่นักศึกษานำเสนอโครงร่าง
ประเมินจากหัวข้อที่นักศึกษานำเสนอ และผลงาน
โดยใช้การตั้งคำถาม และเกณฑ์ที่กำหนด
โดยใช้การตั้งคำถาม และเกณฑ์ที่กำหนด
ไม่มี
หัวข้อโครงร่างที่นักศึกษานำเสนอ
และผลงานที่นักศึกษานำเสนอ ต่อหน้าชั้นเรียน
พร้อมกับประเมินตาม Rubic Score
และผลงานที่นักศึกษานำเสนอ ต่อหน้าชั้นเรียน
พร้อมกับประเมินตาม Rubic Score
ไม่มี