ธุรกิจดิจิทัล
Digital Business
เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของธุรกิจดิจิทัล องค์ประกอบและสถาปัตยกรรมของธุรกิจดิจิทัล เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกิจดิจิทัล การวิเคราะห์และพัฒนาธุรกิจด้วยแบบจำลองธุรกิจ (Business Model Canvas) กระบวนการทางธุรกิจ ตัวแบบธุรกิจ หลักการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมสำหรับธุรกิจดิจิทัล การวางแผนทรัพยากรองค์กร การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ระบบการทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล สื่อสังคมออนไลน์กับธุรกิจดิจิทัล ความมั่นคงปลอดภัยในการทำธุรกรรมดิจิทัล กรณีศึกษาธุรกิจดิจิทัลรวมถึงแนวโน้มของธุรกิจดิจิทัลในอนาคต
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตปัจจุบันได้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของธุรกิจดิจิทัล องค์ประกอบและสถาปัตยกรรมของธุรกิจดิจิทัล เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกิจดิจิทัล การวิเคราะห์และพัฒนาธุรกิจด้วยแบบจำลองธุรกิจ (Business Model Canvas) กระบวนการทางธุรกิจ ตัวแบบธุรกิจ หลักการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมสำหรับธุรกิจดิจิทัล การวางแผนทรัพยากรองค์กร การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ระบบการทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล สื่อสังคมออนไลน์กับธุรกิจดิจิทัล ความมั่นคงปลอดภัยในการทำธุรกรรมดิจิทัล กรณีศึกษาธุรกิจดิจิทัลรวมถึงแนวโน้มของธุรกิจดิจิทัลในอนาคต
Study and practice about basic to digital business, electronic business components and architectures, business analysis and development with business model canvas, business processes, business models, principles of electronic commerce, digital business innovation, enterprise resource planning (ERP), supply chain management (SCM), customer relationship management (CRM), digital business transactional system, digital business and online social media, digital business case study, and trend in electronic business.
Study and practice about basic to digital business, electronic business components and architectures, business analysis and development with business model canvas, business processes, business models, principles of electronic commerce, digital business innovation, enterprise resource planning (ERP), supply chain management (SCM), customer relationship management (CRM), digital business transactional system, digital business and online social media, digital business case study, and trend in electronic business.
3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์อาคาร 3 โทร 1151
3.2 e-mail: wiraiwans@rmutl.ac.th
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. กำหนดให้นักศึกษารู้จักรับผิดชอบต่อหน้าที่ ตรงเวลาทั้งเวลามาเรียน และส่งงาน
2. กำหนดให้นักศึกษาได้การทำงานเป็นกลุ่ม
3. กำหนดให้นักศึกษามีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
2. กำหนดให้นักศึกษาได้การทำงานเป็นกลุ่ม
3. กำหนดให้นักศึกษามีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี
3. ใช้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติกับเครื่องคอมพิวเตอร์
4. กำหนดให้มีการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี
3. ใช้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติกับเครื่องคอมพิวเตอร์
4. กำหนดให้มีการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. การทำรายงานกลุ่มหรือเดี่ยว
3. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
4. ประเมินผลงานของนักศึกษา
2. การทำรายงานกลุ่มหรือเดี่ยว
3. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
4. ประเมินผลงานของนักศึกษา
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และนำมาอภิปรายกลุ่ม
2. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
2. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
1. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา
2. ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งในส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งในส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
1. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
2. กำหนดให้มีการทำงานกลุ่ม
3. ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2. กำหนดให้มีการทำงานกลุ่ม
3. ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
2. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
3. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
2. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
3. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
1.มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ
2. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
3. มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และให้นักศึกษานําเสนอหน้าชั้น
2. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
3. มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และให้นักศึกษานําเสนอหน้าชั้น
1. การจัดทำรายงาน และการนำเสนอ
2. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
3. ประเมินจากการนําเสนอผลงาน
2. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
3. ประเมินจากการนําเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม | 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม | มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ | 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา | 2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด | 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ | 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม | 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ | 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม | 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งในส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม | 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ | 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม | 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม |
1 | BSCCT219 | ธุรกิจดิจิทัล |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1, 1.5, 1.7 | การเข้าชั้นเรียน การส่งตรงเวลา | ทุกสัปดาห์ | 5% |
2 | 1.7, 4.1,4.4,4.5, 5.3 | การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็น ประเมินจากพฤติกรรมขณะทำกิจกรรมในชั้นเรียน | ทุกสัปดาห์ | 5% |
3 | 2.1, 2.2, 2.3, 2.8 | การสอบกลางภาค | 8 | 30% |
4 | 1.7, 2.8, 3.1,3.4, 5.1, 5.4 | งานที่ได้รับมอบหมาย ใบงานและสอบย่อย | ตลอดภาคการศึกษา | 30% |
5 | 2.1, 2.2, 2.3, 2.8 | การสอบปลายภาค | 17 | 30% |
หนังสือ : DIGITAL BUSINESS AND E-COMMERCE MANAGEMENT STRATEGY, IMPLEMENTATION, AND PRACTICE ผู้แต่ง : CHAFFEY, D. Barcode : 9780273786542 ISBN : 9780273786542 ปีพิมพ์ : 6 / 2015
จากที่อาจารย์ให้ดาวน์โหลดและส าเนาแจกในห้องเรียน
ประกาศการเชื่อมโยงไปยังเอกสารหรือข้อมูล ที่แนะนำในกลุ่มปิดเครือข่ายสังคมออนไลน์
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้ - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้ - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
มีการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลใหม่ๆ ที่ทันสมัย เช่น จากหนังสือที่แนะนำและเอกสารอ้างอิง ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์และอื่นๆ
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4