โภชนาการ
Nutrition
เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1รู้และเข้าใจความหมาย ความสำคัญของโภชนาการที่สัมพันธ์กับงานด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร
1.2 รู้และเข้าใจ การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของอาหาร ระหว่างการแปรรูปและการเก็บรักษา
1.3 รู้และเข้าใจ ระบบการย่อยแและการดูดซึมสารอาหารชนิดต่างๆ
1.4 รู้และเข้าใจ ความต้องการอาหารและพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของ
การบริโภคอาหาร
1.5 เข้าใจโภชนาการของบุคคลในภาวะต่าง ๆ วิธีการประเมินภาวะโภชนาการ โภชนบำบัด
และปัญหาโภชนาการในประเทศไทย
1.6 เข้าใจอาหารเชิงหน้าที่ทางโภชนาการ ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ ฉลากโภชนาการและการ
กล่าวอ้างทางโภชนาการ
1.1รู้และเข้าใจความหมาย ความสำคัญของโภชนาการที่สัมพันธ์กับงานด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร
1.2 รู้และเข้าใจ การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของอาหาร ระหว่างการแปรรูปและการเก็บรักษา
1.3 รู้และเข้าใจ ระบบการย่อยแและการดูดซึมสารอาหารชนิดต่างๆ
1.4 รู้และเข้าใจ ความต้องการอาหารและพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของ
การบริโภคอาหาร
1.5 เข้าใจโภชนาการของบุคคลในภาวะต่าง ๆ วิธีการประเมินภาวะโภชนาการ โภชนบำบัด
และปัญหาโภชนาการในประเทศไทย
1.6 เข้าใจอาหารเชิงหน้าที่ทางโภชนาการ ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ ฉลากโภชนาการและการ
กล่าวอ้างทางโภชนาการ
เพื่อเพิ่มเติมรายละเอียดของวิชา ด้านความรู้ ความเข้าใจ ให้ได้ตามเกณฑ์ของหลักสูตร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับงานที่เกี่ยวข้อง ชีวิตประจำวัน โดยให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
ศีกษาคุณสมบัติและโครงสร้างของสารชีวโมเลกุลต่างๆ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด กรดแอมิโน โปรตีน กรดนิวคลิอิก เอนไซม์ ฮอร์โมน และกระบวนการเมแทบอลิซึมภายในร่างกาย ชนิดและความสำคัญของสารอาหาร การย่อย และการดูดซึมสารอาหาร สารพิษในอาหาร ความต้องการสารอาหารและพลังงาน การเปลี่ยนแปลงสารอาหารระหว่างการแปรรูป อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ การคำนวณคุณค่า ทางอาหาร สภาวะทางโภชนาการสำหรับบุคคลในภาวะต่าง ๆ ความต้องการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภคอาหาร
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยอาจารย์จะแจ้งวันเวลาให้นักศึกษาทราบ หรือติดต่อกับอาจารย์ทางโทรศัพท์ E-mail หรือ line โดยอาจารย์แจ้งให้นักศึกษาทราบในแผนการสอนที่แจกให้กับนักศึกษาหรือในขณะชี้แจงรายละเอียดรายวิชา
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถามเพื่อแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ยกตัวอย่างกรณีศึกษาตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และพฤติกรรม
ที่ขาดจรรยาบรรณในวิชาชีพ อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างด้านการมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา โดยใช้วิธีการสอนดังนี้
1. การสอนแบบบรรยาย
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1. การสอนแบบบรรยาย
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในสถานการณ์ที่คณะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม ตรวจสอบการ มีวินัยต่อการเรียนการตรงต่อเวลา ในการเข้าเรียน และประเมินการรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น โดยประเมินเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
- การทดสอบก่อนเข้าบทเรียน ทดสอบ
ย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ควบคุมไม่ให้มีการทุจริตในการทดสอบ
ตรวจสอบการเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ จากการแต่งกาย และพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
การเขียนบันทึก การสังเกต
3. ข้อสอบปรนัย
- การทดสอบก่อนเข้าบทเรียน ทดสอบ
ย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ควบคุมไม่ให้มีการทุจริตในการทดสอบ
ตรวจสอบการเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ จากการแต่งกาย และพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
การเขียนบันทึก การสังเกต
3. ข้อสอบปรนัย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษา ด้านชนิดและความสําคัญของสารอาหาร การ ยอย และ การดูดซึมสารอาหาร สารพิษในอาหาร ความตองการสารอาหารและพลังงาน การเปลี่ยนแปลงสารอาหารระหวางการแปรรูป อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ การคํานวณคุณคาทางอาหาร สภาวะทางโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของการบริโภคอาหาร
2.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ การคํานวณคุณคาทางอาหาร สภาวะทางโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของการบริโภคอาหาร
2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมทั้งการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
2.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ การคํานวณคุณคาทางอาหาร สภาวะทางโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของการบริโภคอาหาร
2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมทั้งการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
- บรรยาย อภิปรายหลักการทฤษฎี เนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องตามวัตถุประสงค์ทั่วไปของรายวิชาที่ได้กำหนดไว้ และยกตัวอย่างให้เห็นถึงความเชื่อมโยงหรือความเกี่ยวข้องกัน
- นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม เพื่อนำเสนอและรายงานจัดทำรายงาน นักศึกษา โดยใช้วิธีการสอนดังนี้
1. การสอนแบบบรรยาย
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
3. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning
- นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม เพื่อนำเสนอและรายงานจัดทำรายงาน นักศึกษา โดยใช้วิธีการสอนดังนี้
1. การสอนแบบบรรยาย
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
3. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning
- การทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
- ประเมินจากรายงานและการนำเสนอข้อมูลของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย
- ประเมินจากรายงานและการนำเสนอข้อมูลของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย
3.1 มีทักษะทางปัญญาด้านโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ ความตองการสารอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของการบริโภคอาหาร โภชนาการของบุคคลในภาวะต่าง ๆ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภคอาหาร มาคิดและใช้อย่างมีระบบในการค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการด้านโภชนาการ และนำข้อมูลมา ประมวลและทบทวนเอกสารทางวิชาการด้านโภชนาการและอาหารเสริมสุขภาพ มานำเสนอได้อย่างเป็นขั้นตอนและถูกต้อง
3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาะระสำคัญของสาขาวิชา
3.2 มีทักษะในการนำความรู้ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภคอาหาร มาคิดและใช้อย่างมีระบบในการค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการด้านโภชนาการ และนำข้อมูลมา ประมวลและทบทวนเอกสารทางวิชาการด้านโภชนาการและอาหารเสริมสุขภาพ มานำเสนอได้อย่างเป็นขั้นตอนและถูกต้อง
3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาะระสำคัญของสาขาวิชา
1. การสอนแบบบรรยาย ในเนื้อหาวิชาทางวิชาการ ที่เกี่ยวข้อง
2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) เนื้อหาวิชาที่เกี่ยวข้องเป็นปัจจุบัน ที่ทางวิชาการที่แสดงผลของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารที่มี ต่อโภชนาการ
3. สอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) และสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
โดยจัดให้มีการอภิปรายในรูป ของกิจกรรมกลุ่มในหัวข้อ ที่มอบหมายแก่นักศึกษา ที่เกี่ยวข้อง มีการตั้งโจทย์/คำถาม หรือยกตัวอย่างสถานการณ์ในระหว่างการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกคิด วิเคราะห์ และมีความกล้าแสดงออกทางความคิด
2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) เนื้อหาวิชาที่เกี่ยวข้องเป็นปัจจุบัน ที่ทางวิชาการที่แสดงผลของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารที่มี ต่อโภชนาการ
3. สอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) และสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
โดยจัดให้มีการอภิปรายในรูป ของกิจกรรมกลุ่มในหัวข้อ ที่มอบหมายแก่นักศึกษา ที่เกี่ยวข้อง มีการตั้งโจทย์/คำถาม หรือยกตัวอย่างสถานการณ์ในระหว่างการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกคิด วิเคราะห์ และมีความกล้าแสดงออกทางความคิด
- ประเมินจากการสังเกตกระบวน ตอบปัญหาการจัดการระบบการแสดงความคิดความคิดเห็นเป็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคล และกลุ่ม ของนักศึกษา เหตุผลสนับสนุนทางด้านวิชาการ ที่เหมาะสม
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- การทดสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองานค้นคว้า ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- การทดสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองานค้นคว้า ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย
4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning โดย 1.1 จัดกลุ่มและมอบหมายงานกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทางานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทางานได้กับผู้อื่น
1.2.จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาคนอื่นและบุคคลภายนอก
1.3 กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มแต่ให้นักศึกษาวางแผนและแบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบด้วยตนเอง
1.2.จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาคนอื่นและบุคคลภายนอก
1.3 กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มแต่ให้นักศึกษาวางแผนและแบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบด้วยตนเอง
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย
โดย
-สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ประเมินความรับผิดชอบจากงานที่มอบหมายจากความตรงต่อเวลาและคุณภาพงานที่ได้
- ประเมินการวางแผนการทางานและการแบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่ม จากคุณภาพงานและการส่งงานตามกำหนดเวลา
- ให้นักศึกษาประเมินตนเองและสมาชิกคนอื่น ๆ ในกลุ่มด้านความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การปรับตัวในการทางานร่วมกันในกลุ่ม ทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย
โดย
-สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ประเมินความรับผิดชอบจากงานที่มอบหมายจากความตรงต่อเวลาและคุณภาพงานที่ได้
- ประเมินการวางแผนการทางานและการแบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่ม จากคุณภาพงานและการส่งงานตามกำหนดเวลา
- ให้นักศึกษาประเมินตนเองและสมาชิกคนอื่น ๆ ในกลุ่มด้านความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การปรับตัวในการทางานร่วมกันในกลุ่ม ทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสมรวดเร็ว
5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.4 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.4 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
- มีการสอนและอธิบายเชิงทฤษฎีและนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตโดยใช้ Power point และการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอและสืบค้นข้อมูลกรณีศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญทางด้านโภชนาการ
- แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศ
- มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และนำเสนองานด้วยวาจาโดยใช้สื่อ Power point
- แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศ
- มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และนำเสนองานด้วยวาจาโดยใช้สื่อ Power point
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่าง ๆ ตลอดจนความเข้าในและความถูกต้อง ในเนื้อหาที่นำเสนอต่อชั้นเรียน
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่าง ๆ ตลอดจนความเข้าในและความถูกต้อง ในเนื้อหาที่นำเสนอต่อชั้นเรียน
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลารวมถึงความ
สามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
สามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
- จัดให้นักศึกษาให้ทำงานเป็นกลุ่มตามงานที่ได้รับมอบหมาย และกำหนดระยะเวลาในการทำงานอย่างเ หมาะสม
- ประเมินจากการประสบความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ | 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา | 6. ทักษะพิสัย | |||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม | 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม | 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม | 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษา | 2.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษา | 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมทั้งการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป | 3.1 มีทักษะทางปัญญาด้านโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะต่างๆ | 3.2 มีทักษะในการนำความรู้ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภคอาหาร มาคิดและใช้อย่างมีระบบ | 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ | 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา | 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี | 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม | 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม | 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 5.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสมรวดเร็ว | 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม | 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม | 5.4 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล | 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม | 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษ ในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม | 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลารวมถึงความ สามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ |
1 | BSCFT013 | โภชนาการ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | หน่วยเรียนที่ 1-7 | การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค การนำเสนองาน | 1-17 | การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค สอบปลายภาค 70% การนำเสนองาน 20% จิตพิสัย 10% |
สิริพันธุ์ จุลกรังคะ. 2550. โภชนศาสตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
อัญชลี ศรีจำเริญ. 2553. อาหารและโภชนาการ: การป้องกันและบำบัดโรค. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 225 หน้า.
อัญชลี ศรีจำเริญ. 2555. อาหารเพื่อสุขภาพ: สารอาหารเชิงพันธภาพและกลไกการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่1 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 181 หน้า.
อัญชลี ศรีจำเริญ. 2553. อาหารและโภชนาการ: การป้องกันและบำบัดโรค. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 225 หน้า.
อัญชลี ศรีจำเริญ. 2555. อาหารเพื่อสุขภาพ: สารอาหารเชิงพันธภาพและกลไกการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่1 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 181 หน้า.
กองโภชนาการ กรมอนามัย. 2543. ธงโภชนาการ. คณะทำงานจัดทำข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย. กรุงเทพฯ.
คณะกรรมการสวัสดิการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2545 . ตารางแสดงคุณค่าทาง
โภชนาการของอาหารไทย. สำนักพิมพ์สามเจริญพาณิชย์ จำกัด. กรุงเทพฯ.
นัยนา บุญทวียุวัฒน์. 2546. ชีวเคมีทางโภชนาการ. บริษัทบริษัท ซิกม่า ดีไซน์กราฟฟิก จำกัด. กรุงเทพฯ.
อบเชย วงศ์ทอง. 2542. โภชนศาสาตร์ครอบครัว. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสาตร์. กรุงเทพฯ.
Grosvenor, M.B. and L.A. Smolin. 2002. Nutrition: from Science to life. Fort Worth:
Harcourt Brace College Publisher.
Henry, C.J. and C. Chapman, C. 2002. The Nutrition Handbook for Food Processors. Woodhead Publishing. USA.
Mahan, L.K., Escott-Stump, S.V: Krause's. 2000 Food Nutrition & Diet Therapy. 9thed. Phiadelphia, W.B. Saunders Company.
Smolin, L.A. and M.B. Grosvenor. 1994. Nutrition: Science and Applications. Saunders College Publishing. USA.
Whitney, E. and S.R. Rolfes, 2005. Understanding Nutrition. 10th ed. Thomson Learning, Inc. USA.
คณะกรรมการสวัสดิการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2545 . ตารางแสดงคุณค่าทาง
โภชนาการของอาหารไทย. สำนักพิมพ์สามเจริญพาณิชย์ จำกัด. กรุงเทพฯ.
นัยนา บุญทวียุวัฒน์. 2546. ชีวเคมีทางโภชนาการ. บริษัทบริษัท ซิกม่า ดีไซน์กราฟฟิก จำกัด. กรุงเทพฯ.
อบเชย วงศ์ทอง. 2542. โภชนศาสาตร์ครอบครัว. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสาตร์. กรุงเทพฯ.
Grosvenor, M.B. and L.A. Smolin. 2002. Nutrition: from Science to life. Fort Worth:
Harcourt Brace College Publisher.
Henry, C.J. and C. Chapman, C. 2002. The Nutrition Handbook for Food Processors. Woodhead Publishing. USA.
Mahan, L.K., Escott-Stump, S.V: Krause's. 2000 Food Nutrition & Diet Therapy. 9thed. Phiadelphia, W.B. Saunders Company.
Smolin, L.A. and M.B. Grosvenor. 1994. Nutrition: Science and Applications. Saunders College Publishing. USA.
Whitney, E. and S.R. Rolfes, 2005. Understanding Nutrition. 10th ed. Thomson Learning, Inc. USA.
- คณะกรรมการจัดทำข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. 2546. ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2546. กองโภชนาการ กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ.
- เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย.
- วารสารอาหาร, Journal of Food Science และ Journal of Food Technology หรือวารสารอื่น ๆในฐานข้อมูล scopus หรือ sciencedirect
- The Journal of nutrition.
- The American journal of clinical nutrition.
- Journal of the Science of Food and Agriculture.
- เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย.
- วารสารอาหาร, Journal of Food Science และ Journal of Food Technology หรือวารสารอื่น ๆในฐานข้อมูล scopus หรือ sciencedirect
- The Journal of nutrition.
- The American journal of clinical nutrition.
- Journal of the Science of Food and Agriculture.
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
1.1 แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2 แบบประเมินผู้สอนในแต่ละรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.3 แบบเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ในการจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวิชา ที่ประเมินโดยนักศึกษา
1.1 แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2 แบบประเมินผู้สอนในแต่ละรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.3 แบบเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ในการจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวิชา ที่ประเมินโดยนักศึกษา
2. กลุยุทธ์การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยคณบดี และจากผู้ทีมผู้สอน รวมถึงผลการเรียนของนักศึกษา
2.1 สาขาวิชาแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา โดยมีหัวหน้าสาขาวิชา ในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน โดยการสุ่มรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา
2.1 สาขาวิชาแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา โดยมีหัวหน้าสาขาวิชา ในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน โดยการสุ่มรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา
3. การปรับปรุงการสอน : ในสาขาวิชามีแนวทางการปรับปรุงการสอน โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรประชุมเพื่อกำหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอน โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ร่วมกันเพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับของนักศึกษาและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
3.1 ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของประเทศที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารและ ธุรกิจด้านอาหาร การเปลี่ยนแปลงของโลก โดยพัฒนาหลักสูตรทุก 5 ปี
3.2 ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา และคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร รวมถึงวิธีการสอน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
3.1 ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของประเทศที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารและ ธุรกิจด้านอาหาร การเปลี่ยนแปลงของโลก โดยพัฒนาหลักสูตรทุก 5 ปี
3.2 ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา และคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร รวมถึงวิธีการสอน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา :
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการประเมินผลคะแนนการนำเสนอรายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน และเปิดการอภิปรายในชั้นเรียน โดยยกตัวที่และที่ต้องปรับปรุงแก้ไข อธิบายทำความเข้าใจเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม และพิจารณาคะแนนสอบย่อย สอบปฏิบัติการ การส่งรายงานปฏิบัติการสอบ
กลางภาคและสอบปลายภาคให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
4.1 มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยกำหนดให้อาจารย์ผู้สอน มีการรายงานวิธีการที่ใช้ในการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และผลการประเมินของนักศึกษา
4.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นำผลการเปรียบเทียบหารือและทำความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งหาแนวทางพัฒนา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการประเมินผลคะแนนการนำเสนอรายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน และเปิดการอภิปรายในชั้นเรียน โดยยกตัวที่และที่ต้องปรับปรุงแก้ไข อธิบายทำความเข้าใจเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม และพิจารณาคะแนนสอบย่อย สอบปฏิบัติการ การส่งรายงานปฏิบัติการสอบ
กลางภาคและสอบปลายภาคให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
4.1 มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยกำหนดให้อาจารย์ผู้สอน มีการรายงานวิธีการที่ใช้ในการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และผลการประเมินของนักศึกษา
4.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นำผลการเปรียบเทียบหารือและทำความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งหาแนวทางพัฒนา
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา : จากผลการประเมินที่ได้ในข้อ 1 และ 2 นำมาวางแผนเพื่อปรับปรุง สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นปรับปรุงรายวิชาทุก3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม ข้อ 4 รวมถึงการปรับปรุงรูปแบบของการสอนปฏิบัติการ ให้มีความหลากหลายและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.1 และข้อมูลจาก มคอ.5
5.2 สับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน หรือจัดหาอาจารย์ผู้สอนท่านอื่นที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มเติมเพื่อร่วมสอนในรายวิชาดังกล่าวโดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อพิจารณาต่อไป
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.1 และข้อมูลจาก มคอ.5
5.2 สับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน หรือจัดหาอาจารย์ผู้สอนท่านอื่นที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มเติมเพื่อร่วมสอนในรายวิชาดังกล่าวโดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อพิจารณาต่อไป