วิทยาศาสตร์การอาหาร
Food Science
1.1 ผู้เรียนสามารถอธิบายองค์ประกอบของอาหารได้อย่างถูกต้อง
1.2 ผู้เรียนสามารถเลือกใช้วัตถุดิบเพื่อประกอบอาหารให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการได้
1.3 ผู้เรียนสามารถอธิบายถึงปัจจัยที่มีผลต่อการประกอบอาหารได้
1.4 ผู้เรียนสามารถเลือกวิธีที่เหมาะสมในการประกอบอาหารได้
1.5 ผู้เรียนสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของอาหารที่เกิดขึ้นขณะประกอบอาหารได้
1.6 ผู้เรียนสามารถนำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นขณะประกอบอาหาร
1.2 ผู้เรียนสามารถเลือกใช้วัตถุดิบเพื่อประกอบอาหารให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการได้
1.3 ผู้เรียนสามารถอธิบายถึงปัจจัยที่มีผลต่อการประกอบอาหารได้
1.4 ผู้เรียนสามารถเลือกวิธีที่เหมาะสมในการประกอบอาหารได้
1.5 ผู้เรียนสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของอาหารที่เกิดขึ้นขณะประกอบอาหารได้
1.6 ผู้เรียนสามารถนำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นขณะประกอบอาหาร
ยังไม่มีการปรับปรุงรายวิชาเนื่องจากเปิดการเรียนการสอนในพื้นที่เชียงใหม่เป็นปีแรก
ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมี และกายภาพของอาหาร ปัจจัยที่มีผลต่อการประกอบอาหาร การประกอบอาหารประเภทต่างๆ การเปลี่ยนแปลงของอาหารในการประกอบอาหาร และการแก้ปัญหาในการประกอบอาหารโดยใช้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์
อาจารย์ผู้สอน แจ้งเวลาให้นักศึกษามาปรึกษานอกตารางเรียนในครั้งแรกของการเรียนการสอนโดยจัดสรรเวลาให้อย่างน้อย 1 คาบต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต และสามารถทำงานเป็นทีม
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ขยัน และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต และสามารถทำงานเป็นทีม
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ขยัน และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
การสอนใช้การสอนแบบสื่อสองทาง โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือคำตอบ หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรมในโอกาสต่างๆ
สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในคาบเรียนโดยการยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสื่อต่างๆที่กำลังเป็นที่สนใจ โดยเน้นความรับผิดชอบต่อสังคม การมีจิตสำนึก การรับผิดชอบต่อตนเอง
เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกําหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรมการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ โดยเฉพาะเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตในงานที่ได้รับมอบมาย และการสอบ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้เหมาะสม
2.1.1 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจอาหารและโภชนาการ
2.2.1 ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง บรรยายควบคู่กับการปฏิบัติการ อภิปราย สอบถาม สรุปผลงานปฏิบัติการและโครงงาน โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้และข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าจากให้นำเสนองานสร้างสรรค์ โดยใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม
2.3.1 ประเมินจากแบบทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและ สอบปลายภาค
2.3.2 การค้นคว้าและการจัดทำรายงานที่ได้รับมอบหมาย การส่งรายงาน
2.3.3 ประเมินจากการทำปฏิบัติการ และการทำรายงานผลการทดลองวิชาปฏิบัติการ โดยในรายงานต้องประกอบไปด้วยหัวข้อตามที่กำหนด และมีการสรุปวิเคราะห์ผล นำเสนอการวิจารณ์ผล ข้อคิดเห็นได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
2.3.2 การค้นคว้าและการจัดทำรายงานที่ได้รับมอบหมาย การส่งรายงาน
2.3.3 ประเมินจากการทำปฏิบัติการ และการทำรายงานผลการทดลองวิชาปฏิบัติการ โดยในรายงานต้องประกอบไปด้วยหัวข้อตามที่กำหนด และมีการสรุปวิเคราะห์ผล นำเสนอการวิจารณ์ผล ข้อคิดเห็นได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3.1.1 ทักษะการนำความรู้มาใช้อย่างมีระบบ
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อปัญหาที่เกิดขึ้น
3.2.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อประกอบอาหาร
3.2.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อประกอบอาหาร
3.3.1 สังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหา ประเมินจากการตอบปัญหา และการแสดงความคิดเห็น
3.3.2 การประเมินงานในภาคทฤษฏี และการนำเสนอผลงาน
3.3.2 การประเมินงานในภาคทฤษฏี และการนำเสนอผลงาน
4.1.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเพื่อนที่สนิท
4.2.2 กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน และหมุนเวียนความรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในการรับผิดชอบหน้าที่ที่หลายหลาย
4.2.3 จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษา
4.2.2 กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน และหมุนเวียนความรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในการรับผิดชอบหน้าที่ที่หลายหลาย
4.2.3 จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษา
4.3.1 ผู้สอนประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และขณะปฏิบัติงานกลุ่ม
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และขณะปฏิบัติงานกลุ่ม
5.1.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.2.1 ใช้สื่อและวิธีการสอนที่น่าสนใจชัดเจน ง่ายต่อการติดตามทําความเข้าใจประกอบการสอนในชั้นเรียน
5.2.2 การสอนโดยมีการนําเสนอ ข้อมูลและ กระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอและสืบค้นข้อมูล แนะนําเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
5.2.3 การมอบหมายงานที่ต้องมีการรวบรวม ค้นคว้าด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีมเน้นสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมีการนําเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยีการสร้างงานให้เป็นระบบของศาสตร์-ศิลป์ มีการอ้างอิง
5.2.2 การสอนโดยมีการนําเสนอ ข้อมูลและ กระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอและสืบค้นข้อมูล แนะนําเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
5.2.3 การมอบหมายงานที่ต้องมีการรวบรวม ค้นคว้าด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีมเน้นสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมีการนําเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยีการสร้างงานให้เป็นระบบของศาสตร์-ศิลป์ มีการอ้างอิง
5.3.1 การสอบกลางภาคและสอบปลายภาค
5.3.2 ประเมินทักษะการใช้สื่อและทักษะการใช้ภาษาพูดจากการอภิปรายในชั้นเรียน
5.3.4 ประเมินทักษะการสืบค้นข้อมูลและทักษะการใช้ภาษาเขียนจากรายงานปฏิบัติการ
5.3.2 ประเมินทักษะการใช้สื่อและทักษะการใช้ภาษาพูดจากการอภิปรายในชั้นเรียน
5.3.4 ประเมินทักษะการสืบค้นข้อมูลและทักษะการใช้ภาษาเขียนจากรายงานปฏิบัติการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 |
1 | BSCFN103 | วิทยาศาสตร์การอาหาร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านคุณธรรมจริยธรรม | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม เสนอความคิดเห็นใน ชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 % |
2 | ด้านความรู้ | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9 18 | 30 % 30 % |
3 | ด้านทักษะปัญญา | วิเคราะห์กรณีศึกษา เสนอผลงาน /วิเคราะห์ รายงานผลการศึกษาค้นคว้า /แบบทดสอบหลังเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 20 % |
4 | ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ | งานที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 10 % |
5 | ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร | รายงานผลการศึกษาค้นคว้า | 17 |
วิไล รังสาดทอง. 2543.เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร. ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร. คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. นนทบุรี
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2544. หลักการแปรรูปอาหารเบื้องต้น.โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, กรุงเทพฯ
P.J. Fellows., (2009), Food processing technology: Principles and practice (ISBN 978-1-85573-362-6)
กล้าณรงค์ ศรีรอด และเกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ. 2550. เทคโนโลยีของแป้ง. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (ISBN 9789749934050)
ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน. 2556. เทคโนโลยีผักและผลไม้. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 280 น.
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2544. หลักการแปรรูปอาหารเบื้องต้น.โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, กรุงเทพฯ
P.J. Fellows., (2009), Food processing technology: Principles and practice (ISBN 978-1-85573-362-6)
กล้าณรงค์ ศรีรอด และเกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ. 2550. เทคโนโลยีของแป้ง. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (ISBN 9789749934050)
ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน. 2556. เทคโนโลยีผักและผลไม้. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 280 น.
, 2559. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
, 2559. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศิริลักษณ์ สินธวาลัย, 2525. ทฤษฏีอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์-
ศิริลักษณ์ สินธวาลัย, 2525. ทฤษฏีอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์-
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษาและผลสอบ
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำข้อมูลที่ได้มาดำเนินการปรับปรุงหรือเพิ่มประสิทธิภาพการสอนต่อไป
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำข้อมูลที่ได้มาดำเนินการปรับปรุงหรือเพิ่มประสิทธิภาพการสอนต่อไป
หลังจากทราบผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ประเมินรายวิชาทุกปีตามแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ประเมินรายวิชาทุกปีตามแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา