การเขียนแบบขั้นพื้นฐาน
Basic Drafting
ศึกษาวิธีการและเทคนิคการเขียนแบบและการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม โดยใช้อุปกรณ์ เขียนแบบ ทฤษฎีสัมมเรขา อักษมาตร ทัศนียวิทยา และฉายาวิทยา
ฝึกปฏิบัติการเขียนแบบ การใช้เครื่องมือเขียนแบบ และการใช้มาตราส่วนที่เหมาะสมในการเขียนแบบ
เพื่อสอดคล้องกับแนวทางของการปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ.2567
ศึกษาวิธีการและเทคนิคการเขียนแบบและการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม โดยใช้อุปกรณ์ เขียนแบบ ทฤษฎีสัมมเรขา อักษมาตร ทัศนียวิทยา และฉายาวิทยา ฝึกปฏิบัติการเขียนแบบ การใช้เครื่องมือเขียนแบบ และการใช้มาตราส่วนที่เหมาะสมในการเขียนแบบ
- อธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม โดยอธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับหลักการเขียนแบบขั้นพื้นฐาน เพื่อความเข้าใจในการใช้สัญญาลักษณ์และอักษรในการเขียนแบบ
- ระบุเครื่องมือที่ใช้ในการเขียนแบบ
- ระบุเครื่องมือที่ใช้ในการเขียนแบบ
- สอนแบบบรรยายร่วมกับการอภิปราย
- การสอนแบบเชิงรุก (Active Learning)
- การใช้เทคโนโลยีที่หลากหลายจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับบริบทเนื้อหา
- การสอนแบบเชิงรุก (Active Learning)
- การใช้เทคโนโลยีที่หลากหลายจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับบริบทเนื้อหา
- ประเมินจากคุณภาพผลงานของผู้เรียน
- ประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายผล
- ประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายผล
- ประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีการเขียนแบบขั้นพื้นฐานสำหรับการเขียนแบบสถาปัตยกรรม
- เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการเขียนแบบในการใช้เส้น การเขียนภาพฉาย ภาพ3มิติ และเงาสะท้อนและเงาตก
- เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการเขียนแบบในการใช้เส้น การเขียนภาพฉาย ภาพ3มิติ และเงาสะท้อนและเงาตก
- การเรียนการสอนที่เน้นการเลือกใช้เครื่องมือเพื่อการออกแบบและสื่อสาร
- เน้นการฝึกปฏิบัติงานโดยมีโครงการเป็นฐาน
- ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน
- เน้นการฝึกปฏิบัติงานโดยมีโครงการเป็นฐาน
- ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน
- ความถูกต้องสมบูรณ์ของงานที่มอบหมาย
- ผลปฏิบัติในงานหรือสถานการณ์ที่มอบหมาย
- ประเมินการประยุกต์ใช้องค์ความรู้และความเข้าใจของผู้เรียนจากผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรม
- ผลปฏิบัติในงานหรือสถานการณ์ที่มอบหมาย
- ประเมินการประยุกต์ใช้องค์ความรู้และความเข้าใจของผู้เรียนจากผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรม
- ปฏิบัติตามวินัยและความรับผิดชอบพื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา
- การปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
- ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำกิจกรรมและการสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ความรู้ (Knowledge) | 2. ทักษะ (Skills) | 3. จริยธรรม (Ethics) | 4. ลักษณะบุคคล (Character) | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 อธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม | 1.2 อธิบายหลักการออกแบบทางสถาปัตยกรรม และข้อแตกต่างของวิธีการ เครื่องมือ เทคโนโลยีในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม | 1.3 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม | 1.4 อธิบายหลักการ และกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรมในงานออกแบบสถาปัตยกรรม | 1.5 อธิบายหลักการ ช้อบังคับ กฎหมาย จรรยาบรรณทางวิชาชีพและคุณสมบัติของสถาปนิกผู้ประกอบการ | 2.1 ประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีพื้นฐานและหลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม | 2.2 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม | 2.3 วิเคราะห์และจำลองอาคารโดยใช้เครื่องมือ เทคโนโลยี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม | 2.4 สร้างสรรค์สถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วยหลักการ กระบวนการคิดเชิงนวัตกรรม | 2.5 ผสมผสานหลักการ ทฤษฎี และทักษะทางสถาปัตยกรรมเข้ากับบริบทการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรม | 3.1 เลือกใช้กฎหมายและข้อบังคับทางวิชาชีพสถาปัตยกรรม | 3.2 ให้ความร่วมมือในทีมงาน ช่วยเหลือชุมชนและสังคม | 3.3 ยอมรับคุณค่าทางความคิดและทรัพย์สินทางปัญญา | 3.4 ยอมรับในความแตกต่างของบุคคล เคารพในสิทธิและเสรีภาพของการแสดงความคิดเห็น | 4.1 ปฏิบัติตามวินัยและความรับผิดชอบพื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา | 4.2 อธิบายและสื่อสารกับผู้อื่นด้วยความรู้และทักษะทางสถาปัตยกรรม | .3 มุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ใช้ทักษะและความรู้เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย | 4.4 ริเริ่มพัฒนางานสถาปัตยกรรมด้วยการคิดอย่างมีระบบ |
1 | BARCC408 | การเขียนแบบขั้นพื้นฐาน |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ลักษณะบุคคล (Character) | - ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย - การเข้าชั้นเรียน - ส่งงาน | สัปดาห์ที่ 1 - 8 และ สัปดาห์ที่ 10 - 16 | 20 % |
2 | ความรู้ (Knowledge) | - สอบกลางภาค | สัปดาห์ที่ 9 | 20 % |
3 | ความรู้ (Knowledge) | - สอบปลายภาค | สัปดาห์ที่ 17 | 20 % |
4 | ทักษะ (Skills) | - ปฏิบัติการเขียนแบบ | สัปดาห์ที่ 1 - 8 และ สัปดาห์ที่ 10 - 16 | 40 % |
5 | จริยธรรม (Ethics) | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี |
สุรศักดิ์ พูลชัยนาวาสกุลง, พงษ์ธร จรัญญากรณ์. เขียนแบบเทคนิคพื้นฐานช่างอุตสาหกรรมทุกสาขา. กรุงเทพฯ : บริษัท ซี เอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน), 2521
ธัญญลักษณ์ ก้องสมุท. เขียนแบบเทคนิค 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2535
ศาสตราจารย์เฉลิม รัตนทัศนีย. การเขียนแบบสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538
ชวลิต ดาบแก้ว และสุภาวดี เหมทานนท์. PERSPECTIVE DRAWING การเขียนทัศนียภาพ. กรุงเทพฯ : หจก.โรงพิมพ์ ดี แอล เอส กรุงเทพ, 2541
ธีระชัย เจ้าสกุล. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2546 ฝ่ายวิชาการ บริษัทสกายบุ๊กส์ จำกัด. เรียนรู้เขียนแบบเบื้องต้นด้วยตนเอง. ปทุมธานี : บริษัท สกายบุ๊กส์ จำกัด, 2533
ธัญญลักษณ์ ก้องสมุท. เขียนแบบเทคนิค 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2535
ศาสตราจารย์เฉลิม รัตนทัศนีย. การเขียนแบบสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538
ชวลิต ดาบแก้ว และสุภาวดี เหมทานนท์. PERSPECTIVE DRAWING การเขียนทัศนียภาพ. กรุงเทพฯ : หจก.โรงพิมพ์ ดี แอล เอส กรุงเทพ, 2541
ธีระชัย เจ้าสกุล. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2546 ฝ่ายวิชาการ บริษัทสกายบุ๊กส์ จำกัด. เรียนรู้เขียนแบบเบื้องต้นด้วยตนเอง. ปทุมธานี : บริษัท สกายบุ๊กส์ จำกัด, 2533
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี