ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม

History of Architecture

1.เพื่อศึกษาพัฒนาการทางสถาปัตยกรรมในโลกตะวันตก ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ความเชื่อมโยงระหว่างสถาปัตยกรรมและที่ตั้ง ในบริบทประวัติศาสตร์อารยธรรมโลก
2.ศึกษาองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม เกณฑ์การออกแบบ  รูปทรงและระบบที่ว่างของอาคารสำคัญในประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม แนวความคิดทางด้านสถาปัตยกรรมตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมเอเชียในช่วงศตวรรษที่ 20
3. เพื่ออ่านรูปแบบทางสถาปัตยกรรมและทบทวนสู่การนำเสนอรูปแบบสถาปัตยกรรมในประวัติศาสตร์บริบทใหม่
1. เพื่อการอธิบาย วิเคราะห์และเชื่อมโยงสถาปัตยกรรมในประวัติศาสตร์อย่างเป็นองค์รวม
2. เพื่ออธิบายองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม เกณฑ์การออกแบบ  รูปทรงและระบบที่ว่างของอาคารสำคัญในประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม แนวความคิดทางด้านสถาปัตยกรรม โดยใช้ทักษะการนำเสนอพื้นฐานทางสถาปัตยกรรม
ศึกษาพัฒนาการทางสถาปัตยกรรมในโลกตะวันตก ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ความเชื่อมโยงระหว่างสถาปัตยกรรมและที่ตั้ง ในบริบทประวัติศาสตร์อารายธรรมโลก องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม เกณฑ์การออกแบบ  รูปทรงและระบบที่ว่างของอาคารสำคัญในประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม แนวความคิดทางด้านสถาปัตยกรรมตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมเอเชียในช่วงศตวรรษที่ 20 ทบทวนสู่การนำเสนอรูปแบบสถาปัตยกรรมในประวัติศาสตร์บริบทใหม่
3 ชั่วโมง
1. อธิบายพัฒนาการทางสถาปัตยกรรมในโลกตะวันตก ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19
2. อธิบายแนวความคิดการออกแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อรูปแบบสถาปัตยกรรมเอเชียในช่วงศตวรรษที่ 20
3. เปรียบเทียบรูปทรง ระบบที่ว่าง และองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม ของอาคารสำคัญในประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม
1. การสอนแบบบรรยายนำเสนอตัวอย่าง และการอภิปรายในชั้นเรียน
2. การสอนแบบเชิงรุก (Active Learning)
1. การนำเสนองานในชั้นเรียนและการอภิปรายผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2. รายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3. แบบทดสอบย่อย สอบกลาภาคและปลายภาค
1. ความเชื่อมโยงระหว่างสถาปัตยกรรมและที่ตั้ง ในบริบทประวัติศาสตร์อารายธรรมโลก
2. จัดระเบียบภาพทางสถาปัตยกรรมในประวัติศาสตร์ ด้วยเทคนิคและเครื่องมือการเขียนภาพพื้นฐานทางสถาปัตยกรรม
1. การสอนแบบบรรยายนำเสนอตัวอย่าง และการอภิปรายในชั้นเรียน
2. การสอนแบบเชิงรุก (Active Learning)
1. การนำเสนองานในชั้นเรียนและการอภิปรายผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2. รายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3. แบบทดสอบย่อย สอบกลาภาคและปลายภาค
ให้ความร่วมมือในทีมงาน ช่วยเหลือชุมชนและสังคม
 
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์จริง
1. ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม
 ปฏิบัติตามวินัยและความรับผิดชอบพื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์จริง
1. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำกิจกรรมและการสอบ
2. จิตพิสัยในการเข้าเรียนตามเวลากำหนด
3. การส่งงานตามเวลากำหนด
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ความรู้ 2. ทักษะ 3. จริยธรรม 4. ลักษณะบุคคล
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 อธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม 1.2 อธิบายหลักการออกแบบทางสถาปัตยกรรม และข้อแตกต่างของวิธีการ เครื่องมือ เทคโนโลยีในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม 1.3 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม 1.4 อธิบายหลักการ และกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรมในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 1.5 อธิบายหลักการ ข้อบังคับ กฎหมาย จรรยาบรรณทางวิชาชีพและคุณสมบัติของสถาปนิกผู้ประกอบการ 2.1 ประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีพื้นฐานและหลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม 2.2 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม 2.3 วิเคราะห์และจำลองอาคารโดยใช้เครื่องมือ เทคโนโลยี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม 2.4 สร้างสรรค์สถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วยหลักการ กระบวนการคิดเชิงนวัตกรรม 2.5 ผสมผสานหลักการ ทฤษฎี และทักษะทางสถาปัตยกรรมเข้ากับบริบทการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรม 3.1 เลือกใช้กฎหมายและข้อบังคับทางวิชาชีพสถาปัตยกรรม 3.2 ให้ความร่วมมือในทีมงาน ช่วยเหลือชุมชนและสังคม 3.3 ยอมรับคุณค่าทางความคิดและทรัพย์สินทางปัญญา 3.4 ยอมรับในความแตกต่างของบุคคล เคารพในสิทธิและเสรีภาพของการแสดงความคิดเห็น 4.1 ปฏิบัติตามวินัยและความรับผิดชอบพื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา 4.2 อธิบายและสื่อสารกับผู้อื่นด้วยความรู้และทักษะทางสถาปัตยกรรม 4.3 มุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ใช้ทักษะและความรู้เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย 4.4 ริเริ่มพัฒนางานสถาปัตยกรรมด้วยการคิดอย่างมีระบบ
1 BARAT205 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ (Knowledge) สอบกลางภาค/สอบปลายภาค สัปดาห์สอบกลางภาค/สอบปลายภาค สัปหาด์ที่9และ17 ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม 100 คะแนน
2 ทักษะ (Skills) - งานที่มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้า - นำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย 2-16 ร้อยละ 20 ของคะแนนเต็ม 100 คะแนน
3 จริยธรรม (Ethics) การสังเกตพฤติกรรม ให้ความร่วมมือในการทำงานเป็นทีม เคารพสิทธิและเสรีภาพในการแสดงออกและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 2-8 ร้อยละ 20 ของคะแนนเต็ม 100 คะแนน
4 ลักษณะบุคคล (Character) - การเข้าชั้นเรียน - การส่งงาน - การเข้าสอบตรงต่อเวลา 1-17 ร้อยละ 10 ของคะแนนเต็ม 100 คะแนน
วิจิตร เจริญภักตร์, ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันตก: คริสเตียนตอนต้นถึงสมัยใหม่, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2543.
โยสไตล์ กอร์เดอร์, โลกของโซฟี : เส้นทางจินตนาการสู่ประวัติศาสตร์ปรัชญา, แปลโดย สายพิณ ศุพุทธมงคล, กรุงเทพฯ: จัดพิมพ์คบไฟ,             2553.
 
Marcus Vitruvius Pollio, Vitruvius: The Ten Books on Architecture, Translated by Morris Hicky Morgan, New
           York : Dover Publications, 1960.
Miles Lewis, Architectura: Elements of Architectural Style, Global Book Publishing, 2008.
Emily Cole, Architectural Details: A Visual Guide to 5000 Years of Building Styles. Lewes : Ivy Press, 2017.
Magdalena Droste, Bauhaus: 1919 – 1933, Köln : Benedikt Taschen, 2019.
Xavier, Barral, The Early Middle Ages: From Late Antiquity to A.D.1000, London: Taschen, 2002.
Gössel, Peter, Architecture in the Twentieth Century, Köln : Benedikt Taschen, 1991.
Kenneth Frampton, Modern Architecture: A Critical History (World of Art) , London: Thames & Hudson, 2020.
David J. Goodman and Harry, F. Mallgrave, An Introduction to Architectural Theory: 1968 to the Present, New            Jersey : Wiley-Blackwell, 2011.  
กำจร สุนพงษ์ศรี, ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558.
เกรียงไกร เกิดศิริ, พุกาม : การก่อรูปของสถาปัตยกรรมจากก้อนอิฐแห่งศรัทธา, กรุงเทพฯ : อุษาคเนย์, 2551. ชาตรี ประกิตนนทการ, การเมืองและสังคมในศิลปสถาปัตยกรรม : สยามสมัยไทยประยุกต์ชาตินิยม, กรุงเทพฯ : มติชน,
2547.
ชัยยศ อิษฎ์วรพันธ์, ธรรมชาติ ที่ว่างและสถานที่, กรุงเทพฯ : โฟคัลอิมเมจพริ้นติ้งกรุ๊ป, 2543
ชัยยศ อิษฎ์วนพันธุ์, หิมะ พระจันทร์ ดอกไม้:สวนญี่ปุ่น, กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์สารคดีภาพ, 2557. รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง, ปราสาทขอมในดินแดนไทย : ความเป็นมาและข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ, กรุงเทพฯ : มติชน,
2548. สมชาติ จึงสิริอารักษ์, สถาปัตยกรรมตะวันตกในสยามสมัยรัชกาลที่ 4 - พ.ศ.2480, กรุงเทพฯ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
            มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553.
วิิมลสิทธิ์ หรยางกูร และคณะ. พัฒนาการแนวความคิดและรูปแบบของงานสถาปัตยกรรม อดีต ปัจจุบัน และอนาคต.             กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, 2536.
 
Milton Osborne, Southeast Asia: An Introductory History. Crows Nest : Allen & Unwin, 2016. Yanxin, Cai and Bingjie, Lu, Chinese Architecture Palaces, Gardens, Temples, and Dwellings. Beijing :             China Intercontinental Press, 2006.
mASEANa Project, The Report of mASEANa Project 2017 4th & 5th International Conference, modern living            in Southeast Asia, 2017.
ไม่มี
ไม่มี
แบบสำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจต่อเนื้อหา/วิธีการสอน/กิจกรรมในชั้นเรียน
แบบสำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจต่อเนื้อหา/วิธีการสอน/กิจกรรมในชั้นเรียน
- ปรับปรุงตามผลการสำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจต่อเนื้อหา/วิธีการสอน/กิจกรรมในชั้นเรียน
- การมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการกำหนดการประเมินการสอน/การปรับเนื้อหาการสอน/กิจกรรมการเรียนการสอน
- ใช้วิธีการสอบกลางภาคและปลายภาค
- ใช้คุณภาพของผลงาน/การนำเสนองานของนักศึกษา
- การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
- การเข้าเรียนและส่งงานตรงตามกำหนด
การทบทวนและวางแผนปรับปรุงดำเนินการหลังจากกระบวนการทวนสอบเสร็จสิ้น