การจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์สำหรับธุรกิจการค้า

Supply Chain and Logistic Management for Trade Business

 1.1 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบทบาทของโลจิสติกส์ที่มีต่อธุรกิจค้าปลีก  1.2 เพื่อให้นักศึกษารู้เข้าใจกระบวนการการจัดห่วงโซ่อุปทานค้าปลีก  1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจกระบวนการการขนส่งและการลดต้นทุนในธุรกิจค้าปลีก  1.4 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจการหลักการวางแผนในการจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
 1.5 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องการบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดการลำเลียงสินค้าสำหรับธุรกิจค้าปลีก
 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับบทบาทของโลจิสติกส์ที่มีต่อธุรกิจค้าปลีก การจัดห่วงโซ่อุปทานค้าปลีก การขนส่งและการลดต้นทุนในธุรกิจค้าปลีก การวางแผนในการจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า การบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดการลำเลียงสินค้าสำหรับธุรกิจค้าปลีก
บทบาทของโลจิสติกส์ที่มีต่อธุรกิจค้าปลีก การจัดห่วงโซ่อุปทานค้าปลีก การขนส่งและการลดต้นทุนในธุรกิจค้าปลีก การวางแผนในการจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า การบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดการลำเลียงสินค้าสำหรับธุรกิจค้าปลีก
 
การศึกษาด้วยตนเอง
     -   อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะฯ Facebook และกลุ่ม line นักศึกษา
     -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
-จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ  บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม -กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม  เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น -สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา
สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ  
การทดสอบย่อย และปลายภาค ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา
คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา
ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 
-มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
-มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา
สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต
สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน
พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ ตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การนำเสนองาน การทำงานกลุ่มและรายงาน การส่งงานตามที่มอบหมายตามกำหนด ตลอดภาคการศึกษา 15%
2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
3 สอบปลากภาค สอบปลากภาค 40%
4 ผลการฝึกปฏิบัติ ตลอดภาคการศึกษา 40%