ศิลปะภาพพิมพ์สร้างสรรค์

Creative Printmaking

1. สามารถสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์โดยเน้นรูปแบบ เนื้อหา แนวความคิดโดยใช้กระบวนการทางภาพพิมพ์
2. นำเสนอผลงานศิลปะภาพพิมพ์โดยสอดคล้องกับแนวความคิดได้เป็นอย่างดี
3. สามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์ตามแบบเฉพาะตนได้
4. มีการพัฒนาผลงานศิลปะภาพพิมพ์ได้อย่างสร้างสรรค์
1. เพื่อพัฒนากระบวนการภาพพิมพ์ได้อย่างสร้างสรรค์
2. เพื่อเกิดการสร้างสรรค์กระบวนการศิลปะภาพพิมพ์ได้อย่างสอดคล้องกับแนวความคิด
3. เพื่อให้เกิดการพัฒนาเทคนิค วิธีการสร้างสรรค์ในกระบวนการศิลปะภาพพิมพ์
               ศึกษาและปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์ โดยเน้นรูปแบบ เนื้อหา แนวความคิด โดยใช้เทคนิคและวิธีการต่างๆทางกระบวนการภาพพิมพ์ ที่สอดคล้องกับลักษณะการแสดงออกเฉพาะตน สามารถนำเสนอผลงานที่สร้างสรรค์และความคิดที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตนและสามารถพัฒนาผลงานสร้างสรรค์ของตนได้
               Study and practice creating printmaking focusing on for, content, concept various techniques, and methods in printmaking process in coherence with an individual style of expression, presenting created artwork and expressing unique ideas, including improving one’s creative work.
- อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและแนะนำการปฏิบัติงานทุกครั้งที่ลงมือปฏิบัติงาน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
(1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
 
               สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา  สอนให้มีระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
               ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา  ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
(1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง
(2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
(3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
(4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา        
                       ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
                         ประเมินจากการนำเสนอผลงานและผลงานสร้างสรรค์ที่กำหนดให้ในแต่ละหัวข้อ
1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
(2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง
สร้างสรรค์
(3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
(4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
                      ใช้กรณีศึกษา  การจัดทำโครงงาน  หรือการจัดทำศิลปนิพนธ์  การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล   การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
               ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษาและการนำเสนองาน
(1) มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
(2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
(3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมาและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
                       สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม   การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น   การประสานงานกับบุคคลภายนอก   การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
                        ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
               จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ    ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล  โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล   การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร 
               ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์   สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ุ6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2.มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3.มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 1.รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ 3.มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม 4.มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบ วิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา 1.สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน 2.สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ 3.สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ 4.มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 1.มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2.มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ 3.สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง 1.สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่ เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 1.สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
1 BFAVA212 ศิลปะภาพพิมพ์สร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และส่วนรวม ยอมรับการวิจารย์อย่างมีเหตุผล ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 การนำเสนอในชั้นเรียนและผลงานที่ปฏิบัติ มีความรู้จากการศึกษานอกสถานที่และการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองได้เป็นอย่างดี สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบ ตลอดภาคการศึกษา 25%
3 การปฏิบัติงาน ของนักศึกษาและ การนำเสนองาน ผลงาน การนำเสนอผลงานและการสร้างสรรค์ผลงานได้เป็นอย่างดี ตลอดภาคการศึกษา 25%
4 พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆในชั้นเรียน การเข้าชั้นเรียน การปฏิบัติงาน การนำเสนอ ผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 ใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการอธิบาย ค้นคว้า นำเสนอ การใช่สื่อสารสนเทศในการค้นคว้า สืบค้น นำเสนอได้เป็นอย่างดี ตลอดภาคการศึกษา 10%
6 การปฏิบัติงานและผลงาน การปฏิบัติการสร้างสรรค์และผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
             กัญญา เจริญศุภกุล. (2550). ภาพพิมพ์หิน Lithograph.กรุงเทพ:บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน)
              กำจร สุนพงษ์ศรี. (2559). สุนทรียศาสตร์ หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีศิลป์ ศิลปะวิจารณ์. กรุงเทพฯ: 
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
              ฉลอง สุนทรนนท์. (2558). สุนทรียศาสตร์และทัศนศิลป์. สมุทรสาคร.:  บริษัท แอ๊ปปา พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด
              ชลูด นิ่มเสมอ. (2553). องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด​ (มหาชน)
              ทวีเดช จิ๋วบาง. (2536). เรียนรู้ทฤษฎีสี. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์
              สุรพงษ์ สมสุข.  (2561). พัฒนาการและการสร้างสรรค์ภาพพิมพ์โลหะในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับบลิชชิ่ง จำกัด(มหาชน)
-
-