พฤติกรรมผู้บริโภคในยุคดิจิทัล

Consumer Behaviors in Digital Era

เพื่อให้นักศึกษารู้เท่าทันถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและวิถีการใช้ชีวิตของผู้บริโภคจากดั้งเดิมมาสู่วิถีชีวิตแบบใหม่ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภค ด้านประชากรศาสตร์ จิตวิทยา สังคม และวัฒนธรรม อิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม อิทธิพลของเทคโนโลยีและนวัตกรรม การยอมรับเทคโนโลยี การเดินทางของลูกค้า สามารถทำการวิเคราะห์และอธิบายคุณลักษณะลูกค้า การรับรู้ การเรียนรู้ ทัศนคติ และกระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคได้ รวมถึงสามารถใช้ประโยชน์จากการวิจัยผู้บริโภคได้
เพื่อทำให้นักศึกษาได้เรียนรู้เเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมของผู้บริโภคในยุคปัจจบันที่มีปัจจัยที่หลากหลายทั้งทางด้านประชากรศาสตร์ จิตวิทยา สังคม และวัฒนธรรม เทคโนโลยีและนวัตกรรม การเดินทางของลูกค้า รวมถึงการรับรู้ การเรียนรู้ ทัศนคติและกระบวนตัดสินใจของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป และเพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ประโยชน์จากการวิจัยเพื่อสามารถเข้าผู้บริโภคได้อย่างลึกซึ้ง
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและวิถีการใช้ชีวิตของผู้บริโภคจากดั้งเดิมมาสู่วิถีชีวิตแบบใหม่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภค ประกอบด้วยปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ จิตวิทยา สังคม และวัฒนธรรม อิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม อิทธิพลของเทคโนโลยีและนวัตกรรม การยอมรับเทคโนโลยี การเดินทางของลูกค้า การวิเคราะห์และอธิบายคุณลักษณะลูกค้า การรับรู้ การเรียนรู้ ทัศนคติ และกระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค การวิจัยผู้บริโภค
3 ชั่วโมง
มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรมคุณธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น มีความพอเพียงมีวินัยขยันอดทนเพียรพยายามตรงต่อเวลารับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพสังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อมมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
มีการจัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมในการสอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชารวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลาส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัยและอธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยสอดแทรกในการสอนมีการมอบหมายงานกลุ่มเน้นการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่มเน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็นรวมถึงเปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตากรุณาความเสียสละและการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม ประเมินจากการเข้าเรียนตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย  สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน  ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทฤษฎีและการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสมและ พัฒนาความรู้ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 
4. มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจรวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆและเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงานโครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียนรวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงนอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพ แวดล้อมจริงและการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน  รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมและการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ  ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงหรือสถานการณ์จริง  ผลจากการค้นคว้าและการนำเสนอ  ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา  ประเมินจากการนำเสนอผลงาน  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาพเช่นการบ้านงานที่มอบหมายรายงานการทดสอบย่อยการนำเสนอรายงานการค้นคว้าหน้าชั้นเรียน 
สามารถสืบค้นตีความวิเคราะห์ข้อมูลและประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจและตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง  สามารถคิดค้นทางเลือกวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ 
จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน  กรณีศึกษาทางการจัดการโรงงานงานวิจัยและกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็น ทีม การศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน  การมอบหมายงานการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาและสถานการณ์จำลอง  จัดให้ในรายวิชามีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญาความคิดการวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆทั้งในสาขาและนอกสาขา
 ประเมินจากการนำเสนอโครงงานรายงานผลการวิจัยอภิปรายกรณีศึกษาและประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบโดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหาอธิบายแนวคิดการแก้ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมาซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกคำตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา รวมถึงประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่มแสดงความคิดเห็นต่างและแสดงความคิดเห็นใหม่ๆได้อย่างสร้างสรรค์เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาลมาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสมและพร้อมพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง 
ใช้การสอนโดยสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ ตาม จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถานบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน 
การทดสอบย่อยกลางภาคและปลายภาค  ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา  ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา  สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง  ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการทำสหกิจศึกษา
2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจโดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้องทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 
4. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร  มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล  ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนพื้นฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข  บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์เครือข่ายและซอฟต์แวร์หรือสื่อต่างๆในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้ 
การทดสอบย่อยรางภาคและปลายภาค  ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคลและเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม  ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ  ประเมินจากการสรุปและอภิปรายกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลขซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน 
สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริงและนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม  จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตำหนักในคุณค่าของสังคมจริยธรรม  จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจด้านการวางแผนการจัดโครงสร้างองค์การปฏิบัติการการควบคุมและผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนให้ สอดคล้องกับสถานการณ์  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง  จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษาจากการจำลองหรือสถานการณ์จริงและความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม  พฤติกรรมที่แสดงออกในการเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม  พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าสู่ประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน  การนำเสนอผลงานหรือโครงงานโดยการเลือกใช้ภาษาสื่อสารในบริบทต่างๆเพื่อคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆบนพื้นฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้ 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4
1 BBABA629 พฤติกรรมผู้บริโภคในยุคดิจิทัล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2, 2.4, 3.1, 3.2, 3.3, 3.4 สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 9 และ 17 30 และ 30
2 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 3.1, 3.2, 3.3, 3.4, 4.2, 4.3, 5.2, 5.4, 6.1, 6.2, 6.4 กิจกรรมในชั้นเรียน/งานมอบหมายแบบกลุ่ม ทุกสัปดาห์ 35
3 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5 เช็คการเข้าห้องเรียนและสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5
1. Hoyer, W. D., MacInnis, D. J., & Pieters, R. (2023). Consumer Behavior (8th ed.). Cengage Learning.
2. Mothersbaugh, D. L., Hawkins, D. I., & Kleiser, S. B. (2020). Consumer Behavior: Building Marketing Strategy (14th ed.). McGraw-Hill Education.
3. Solomon, M. R., & Russell, C. A. (2024). Consumer Behavior : Buying, Having, and Being (14th ed.). Pearson Education.
 
1. Hoyer, W. D., MacInnis, D. J., & Pieters, R. (2023). Consumer Behavior (8th ed.). Cengage Learning.
2. Mothersbaugh, D. L., Hawkins, D. I., & Kleiser, S. B. (2020). Consumer Behavior: Building Marketing Strategy (14th ed.). McGraw-Hill Education.
3. Solomon, M. R., & Russell, C. A. (2024). Consumer Behavior : Buying, Having, and Being (14th ed.). Pearson Education.
1. Hoyer, W. D., MacInnis, D. J., & Pieters, R. (2023). Consumer Behavior (8th ed.). Cengage Learning.
2. Mothersbaugh, D. L., Hawkins, D. I., & Kleiser, S. B. (2020). Consumer Behavior: Building Marketing Strategy (14th ed.). McGraw-Hill Education.
3. Solomon, M. R., & Russell, C. A. (2024). Consumer Behavior : Buying, Having, and Being (14th ed.). Pearson Education.
1. ระดับคะแนนจาการทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาค 2. ประเมินจากการสอบถาม ถามตอบ กับผู้เรียน 3. ผลคะแนนทวนสอบของรายวิชา 4. การวิจัยในชั้นเรียน
1. ผลการประเมินการสอนจากนักศึกษา 2. ประเมินจากการสอบถาม คำแนะนำ ข้อเสนอแนะวิธีการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียน 3. ผลคะแนนทวนสอบของรายวิชา
ปรับวิธีการสอนตามผลประเมินและการแนะนำจากผู้เรียนหรือจากผลการวิจัยชั้นเรียน
1. การทวนสอบตามแบบฟอร์มของคณะ 2. การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1. ปรับวิธีการสอน ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา