เทคนิคการประกอบอาหาร
Culinary Techniques
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจำแนกประเภท คุณลักษณะ และการใช้วัตถุดิบอาหารประเภทต่างๆ
มีความรู้ความเข้าใจลักษณะสำคัญของวัตถุดิบ การเลือกซื้อ การประเมินคุณภาพของวัตถุดิบอาหาร การตรวจรับวัตถุดิบอาหาร และการเก็บรักษาวัตถุดิบอาหารแต่ละประเภทอย่างถูกต้อง
มีทักษะการเตรียมเพื่อการประกอบอาหาร การตัดแต่งเนื้อสัตว์ และสามารถประเมินวัตถุดิบอาหารแต่ละประเภทในด้านรสชาติ เนื้อสัมผัส กลิ่น ลักษณะปรากฏ และอื่นๆได้ เพื่อการเลือกใช้วัตถุดิบได้อย่างเหมาะสม
มีทักษะในการปรุงประกอบให้เหมาะสมกับประเภทอาหาร และได้เรียนรู้ถึงรายการอาหารประเภทต่างๆ วัตถุดิบที่ใช้ วิธีการประกอบ และรวมถึงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในการประกอบอาหารได้อย่างเหมาะสม
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพอาหาร การควบคุมคุณภาพอาหารได้
มีการปรับปรุงและเพิ่มเติมเนื้อหาในเอกสารประกอบการเรียน เพื่อให้นักศึกษาได้รับข้อมูลที่ทันสมัยและมีความเป็นปัจจุบันมากที่สุด ซึ่งมีเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับวัตถุดิบอาหาร ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาสามารถมีทักษะในการจำแนกประเภทวัตถุดิบอาหาร การจัดเตรียม การประกอบและรวมถึงการเลือกซื้อและการจัดเก็บอย่างถูกวิธี นักศึกษาได้ฝึกทักษะจากการปฏิบัติ มีความรู้ด้านเทคนิค เพื่อนำไปประกอบอาหารได้อย่างเหมาะสม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติความรู้เกี่ยวกับการเตรียมอาหาร อุปกรณ์เครื่องครัว การพัฒนาความรู้ ทักษะ และเทคนิคการประกอบอาหารแต่ละประเภท เครื่องปรุงรสและเครื่องเทศ ข้าว พืชหัว และผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ผักผลไม้ น้ำมันและไขมัน และความปลอดภัยพื้นฐานในการเตรียมอาหาร
ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายบุคคล)
มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต และสามารถทำงานเป็นทีม
มีเจตคติและจรรยาบรรณที่ดีต่องานทางวิชาการหรือ
มีเจตคติและจรรยาบรรณที่ดีต่องานทางวิชาการหรือ
1.2.1 สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรมจริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
1.2. 2 ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรง เวลา
1.2. 2 ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรง เวลา
การตรงเวลาของนักศึกษา ในการเข้าชั้นเรียนการส่งงาน ตามกำหนดระยะเวลาที่มอบ หมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
ความมีวินัย
2.1. 1. มีความรู้และความเข้าใจทั้ง ด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ
2.1. 2. สามารถติดตามความก้าว หน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาสาขาวิชาธุรกิจ อาหารและโภชนาการ
2.1. 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจอาหารและ โภชนาการ
2.1. 2. สามารถติดตามความก้าว หน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาสาขาวิชาธุรกิจ อาหารและโภชนาการ
2.1. 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจอาหารและ โภชนาการ
สอนแบบบรรยายร่วมกับการ อภิปราย
2.2 .2 วิเคราะห์กรณีศึกษา
2.2 .3 มอบหมายงานให้ค้นคว้าเพิ่ม เติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.2 .4 การสอนแบบสาธิต ฝึกปฏิบัติ ทดสอบ
2.2 .5 การสอนแบบเชิงรุก (Active Learning)
2.2 .6 การมอบหมายให้ทำงานกลุ่ม
2.2 .7 การเรียนการสอนในรูปแบบ อื่นๆที่เหมาะสมกับบริบทของเนื้อหา
2.2 .2 วิเคราะห์กรณีศึกษา
2.2 .3 มอบหมายงานให้ค้นคว้าเพิ่ม เติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.2 .4 การสอนแบบสาธิต ฝึกปฏิบัติ ทดสอบ
2.2 .5 การสอนแบบเชิงรุก (Active Learning)
2.2 .6 การมอบหมายให้ทำงานกลุ่ม
2.2 .7 การเรียนการสอนในรูปแบบ อื่นๆที่เหมาะสมกับบริบทของเนื้อหา
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.3 การนำเสนอการทำงานเป็น ทีม
2.3.4 ผลการปฏิบัติในงานหรือ สถานะการณ์ที่มอบหมาย
2.3.5 ความสมบูรณ์ถูกต้องของงาน ที่มอบหมาย
2.3.6 การนำเสนอและการ อภิปรายผลการศึกษาบทความและข้อมูลตามหัวข้อที่มอบ หมาย
2.3.7 การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
2.3.8 การประเมินผลในรูปแบบ อื่นๆที่เหมาะสมกับบริบทของ เนื้อหา
2.3.3 การนำเสนอการทำงานเป็น ทีม
2.3.4 ผลการปฏิบัติในงานหรือ สถานะการณ์ที่มอบหมาย
2.3.5 ความสมบูรณ์ถูกต้องของงาน ที่มอบหมาย
2.3.6 การนำเสนอและการ อภิปรายผลการศึกษาบทความและข้อมูลตามหัวข้อที่มอบ หมาย
2.3.7 การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
2.3.8 การประเมินผลในรูปแบบ อื่นๆที่เหมาะสมกับบริบทของ เนื้อหา
3.3. 1.มีทักษะในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับธุรกิจอาหาร และโภชนาการ
3.3.2. มีการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร และโภชนาการโดยใช้ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศหรือสถิติประยุกต์ที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
3.3.2. มีการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร และโภชนาการโดยใช้ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศหรือสถิติประยุกต์ที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
มอบหมายงานให้ค้นคว้า เพิ่มเติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.3.2 การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) ผ่านระบบออนไลน์/เทคโนโลยี
3.3. 1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
3.3.2 การนำเสนอและการ อภิปรายผลการศึกษาบทความและข้อมูลตามหัวข้อที่มอบ หมาย
3.3.2 การนำเสนอและการ อภิปรายผลการศึกษาบทความและข้อมูลตามหัวข้อที่มอบ หมาย
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 สอดแทรกและส่งเสริมด้าน
คุณธรรมจริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
4.2.2. ปลูกฝังการเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
คุณธรรมจริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
4.2.2. ปลูกฝังการเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4.31. การแสดงออกและการมี ส่วนร่วม
4.3.2 สังเกตจากการรับฟังความ คิดเห็นจากอาจารย์ผู้สอนและ กลุ่มนักศึกษาในชั้นเรียน
4.3.2 สังเกตจากการรับฟังความ คิดเห็นจากอาจารย์ผู้สอนและ กลุ่มนักศึกษาในชั้นเรียน
5.1.2 มีการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร และโภชนาการโดยใช้ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศหรือสถิติประยุกต์ที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.1.3 มีการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร และโภชนาการโดยใช้ระบบเทคโนโลยี
5.1.4 สารสนเทศหรือสถิติประยุกต์ที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.1.5 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารและโภชนาการได้อย่างเหมาะสม
5.1.6 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
5.1.7 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
5.1.3 มีการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร และโภชนาการโดยใช้ระบบเทคโนโลยี
5.1.4 สารสนเทศหรือสถิติประยุกต์ที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.1.5 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารและโภชนาการได้อย่างเหมาะสม
5.1.6 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
5.1.7 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
5.2.2 การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) ผ่านระบบออนไลน์/เทคโนโลยี
5.2.3. การสอนปฏิบัติ
5. 2.4 การเรียนแบบร่วมมือ (Collaborative Learning)
5.2.5 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิด
5.2.6 การเรียนการสอนในรูปแบบ อื่นๆที่เหมาะสมกับบริบทของเนื้อหา
5.2.3. การสอนปฏิบัติ
5. 2.4 การเรียนแบบร่วมมือ (Collaborative Learning)
5.2.5 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิด
5.2.6 การเรียนการสอนในรูปแบบ อื่นๆที่เหมาะสมกับบริบทของเนื้อหา
5.3.2 การนำเสนอและการ อภิปรายผลการศึกษาบทความและข้อมูลตามหัวข้อที่มอบ หมาย
5.3.3 การนำเสนอการสะท้อนคิด 4. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม ในกิจกรรมตามที่ได้รับมอบ หมาย
5.3.4 การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
5.3.5 การประเมินผลในรูปแบบ อื่นๆที่เหมาะสมกับบริบทของเนื้อหา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2.ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1. มีความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม | 2.มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | 1.มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้้อหาที่ศึกษา | 2.มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ | 1.มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ | 2. ใช้ภาษา เพื่อสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามสถานการณ์และบริบทการใช้ | 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม | 3. มีจิตสาธารณะให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาเพื่อส่วนรวม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม | 2. วิธีการสอน มอบหมายงานที่ต้องมีการเรียบเรียงนำเสนอเป็นภาษาเขียน และที่ต้องมีการนำเสนอด้วยวาจาทั้งแบบปากเปล่าและใช้สื่อประกอบการนำเสนอ | 3. วิธีการประเมินผล ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษาเขียนจากรายงานแต่ละบุคคลหรือรายงานกลุ่มในส่วนที่นักศึกษานั้นรับผิดชอบ |
1 | BSCFN149 | เทคนิคการประกอบอาหาร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านความรู้ | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9 17 | 20% 20% |
2 | ด้านทักษะทางปัญญา ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร | สอบปฏิบัติและการนำเสนอ | ตลอดภาคการศึกษา | 50% |
3 | ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ | การเข้าชั้นเรียนการมีส่วนร่วมเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาเทคนิคประกอบอาหาร
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลรายวิชา ซึ่งรวมถึงวิธีการสอน การสาธิตและสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาโดยใช้แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา ผ่านช่องทางระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลรายวิชา ซึ่งรวมถึงวิธีการสอน การสาธิตและสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาโดยใช้แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา ผ่านช่องทางระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตพฤติกรรมจากการทำกิจกรรมของนักศึกษา
2.2 ผลการทำกิจกรรม/งานกลุ่ม
2.3 ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
2.4 รายงานหน้าชั้นเรียนและชิ้นงานที่มอบหมาย
2.1 การสังเกตพฤติกรรมจากการทำกิจกรรมของนักศึกษา
2.2 ผลการทำกิจกรรม/งานกลุ่ม
2.3 ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
2.4 รายงานหน้าชั้นเรียนและชิ้นงานที่มอบหมาย
จัดการประชุมระดมความคิดและหาข้อมูลในการพัฒนาแนวการสอนดังนี้
การประสานงานด้านข้อมลกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย หรือ บริษัทเอกชน การสัมมนาการเรียนการสอน
- การทำวิจัยภายในชั้นเรียนต่อเนื่องจากการประเมินการสอนหลักสูตร โดยจัดการประชุมระดมความคิดและหาข้อมูลในการพัฒนาแนวการสอนดังนี้
การประสานงานด้านข้อมลกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย หรือ บริษัทเอกชน การสัมมนาการเรียนการสอน การทำวิจัยภายในชั้นเรียน
การประสานงานด้านข้อมลกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย หรือ บริษัทเอกชน การสัมมนาการเรียนการสอน
- การทำวิจัยภายในชั้นเรียนต่อเนื่องจากการประเมินการสอนหลักสูตร โดยจัดการประชุมระดมความคิดและหาข้อมูลในการพัฒนาแนวการสอนดังนี้
การประสานงานด้านข้อมลกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย หรือ บริษัทเอกชน การสัมมนาการเรียนการสอน การทำวิจัยภายในชั้นเรียน
มีการทวนสอบมาตรฐานและผลสัมฤทธิ์รายวิชาของของนักศึกษา ได้จากการสอบถามนักศึกษาการตรวจเช็คผลงานการปฏิบัติของนักศึกษา มีการทดสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบจากข้อสอบ รายงาน ผลงานและวิธีการให้คะแนนพฤติกรรม
ตรวจสอบงานวิจัยของนักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่เรียน
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 จากผลการประเมินและทวนสอบมาตรฐานและผลสัมฤทธิ์ในรายวิชา ได้มีการวางแผนการพิจารณาปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาการสอนให้สอดคล้องกับสภาวะปัจจุบันและยุคสมัย สามารถนำไปใช้ได้จริงในทางปฏิบัติเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณา เสนอแนะความคิดเห็นและสรุปวางแผนการพัฒนาปรับปรุงต่อไป
มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 จากผลการประเมินและทวนสอบมาตรฐานและผลสัมฤทธิ์ในรายวิชา ได้มีการวางแผนการพิจารณาปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาการสอนให้สอดคล้องกับสภาวะปัจจุบันและยุคสมัย สามารถนำไปใช้ได้จริงในทางปฏิบัติเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณา เสนอแนะความคิดเห็นและสรุปวางแผนการพัฒนาปรับปรุงต่อไป