ระเบียบวิธีวิจัยออกแบบผลิตภัณฑ์

Research Method in Product Design

ศึกษาระเบียบวิธีวิจัย เอกสารผลงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการพัฒนาออกแบบผลิตภัณฑ์ กระบวนการทำวิจัย การวางแผน การเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือ สถิติและการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลงานวิจัย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ที่กว้างขวาง ทันสมัยต่อเทคโนโลยีที่สูงขึ้นเกี่ยวกับหลักการของงานวิจัยเพื่อการพัฒนางานออกแบบผลิตภัณฑ์ กระบวนการทำวิจัย การวางแผนการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การศึกษาเอกสารและผลที่เกี่ยวข้องกับงานการเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติ การสรุปผลและการนำผลการวิจัยไปใช้เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการเขียนรายงานการวิจัย
ศึกษาเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ กระบวนการวิจัยการวางแผนการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลและการนำเสนองานวิจัยสำหรับสอบโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์ 
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายนอกห้องเรียนทางสื่ออินเตอร์เน็ต
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.2 เน้นเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
1.2.3 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และการเช็คชื่อในห้องเรียน
1.3.2 การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา
1.3.3 พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ใช้การสอนหลายรูปแบบโดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ และประยุกต์ใช้ได้จริง
2.2.2 มอบหมายงานตามสถานการณ์ปัจจุบัน ต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในการออกแบบศิลปะประยุกต์ ตามสาขางานที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 มอบหมายงานตามหัวข้อหรือประเด็นที่มอบหมาย พร้อมนำเสนอ
2.3.1 สอบกลางภาค และสอบปลายภาคเรียน
2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.3 ประเมินจากโครงงานที่นำเสนอ ตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย
2.3.4 ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียน
 
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโปรเจคที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.2.3 ให้นักศึกษาปฏิบัติงาน และทำรายงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3.3.1 การทำผลงานในชั้นเรียน
3.3.2 วัดผลจากการประเมินงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอรายงาน
3.3.3 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบในชั้นเรียน
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่างผลงาน
4.2.2 มอบหมายงานที่ใช้ความรู้ความสามารถ การนำเสนอรายงานเกี่ยวกับสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.3.1 ประเมินตนเอง จากการนำเสนองาน โดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.2 ประเมินจากการมอบหมายงานที่ใช้ความรู้ความสามารถ การนำเสนอผลงานเกี่ยวกับสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 นำเสนอโดยรูปแบบรายงานและผลงานกรณีศึกษา
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การหาข้อมูลจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบรายงานและผลงานกรณีศึกษา ทั้งในและต่างประเทศ
5.3.1 ประเมินจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับทฤษฎี และกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา
5.3.2 ประเมินผลการวิเคราะห์ตามทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3
1 43023351 ระเบียบวิธีวิจัยออกแบบผลิตภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 9 และ 17 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 17 15% , 15%
2 1-8, 10-16 - การทดสอบตามเรียน - แบบฝึกหัดตามบทเรียนด้วยตนเอง - ผลงานการวิเคราะห์ตามบทเรียนด้วยกระบวนการกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1-7, 9-15 - การเข้าชั้นเรียน - การแต่งกาย - การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
นงลักษณ์ วิรัชชัย และคณะ. (2533). คู่มือการเขียนโครงการวิจัย. วารสารการวัดผลการศึกษา.
กรุงเทพฯ:12(35): 43-72.ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม ศรีสะอาด.(2535).การวิจัยเบื้องต้น.พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพฯ:สุวิริยาสาสน์.
มนสิช สิทธิสมบูรณ์.(2543).พื้นฐานการวิจัย.พิษณุโลก.:(เอกสารประกอบการสอน)มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ศรีพรรณ สิทธิพงศ์(2538).ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย.เชียงใหม่.:ภาควิชาทดสอบและวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่.
Adams, G.R. and Schvaneveldt, J.D. (1991). Understanding Research Methods. (Second Edition). New York: Longman.
Best, J.W. and Kahn, J.V. (1993). Research in Education. (Seventh Edition). Boston: Allyn and Bacon.
Cozby, P.C. (1995). Methods in Behavioral Research. (Third Edition). London: Mayfield Publishing Company.
Hedges, L.V.and Olkin, L. (1985). Statistical Methods for Meta-Analysis.Orlando, Florida: Academic Press.
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย เช่น ฐานข้อมูลงานวิจัยในไทย Thailis, งานวิจัยต่างประเทศ และ ฐานข้อมูลห้องสมุด
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์ของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา แบบฝึกหัดหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา การร่วมวิเคราะห์งานกลุ่ม  รวมถึงพิจารณาจากผลการ สังเกต  การทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการทดสอบและแบบฝึกหัดของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์