เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์

Sensors and Transducers

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ พื้นฐานเบื้องต้นของเซ็นเซอร์แบบสารกึ่งตัวนำ เทคโนโลยีเซ็นเซอร์แบบสารกึ่งตัวนำ SAW เซ็นเซอร์ เซ็นเซอร์เชิงกล เซ็นเซอร์แม่เหล็ก เซ็นเซอร์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เซ็นเซอร์ความร้อน เซ็นเซอร์เคมี เซ็นเซอร์ชีวภาพ เซ็นเซอร์แบบวงจรรวม และการเชื่อมต่อเซ็นเซอร์กับระบบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจในเทคโนโลยีเซนเซอร์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องและสามารถประยุกต์ใช้งานเซนเซอร์กับระบบควบคุมอัตโนมัติ ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีเซนเซอร์ที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาพื้นฐานของการวัดและอุปกรณ์การวัด ทรานสดิวเซอร์แบบอนาล็อกและ ดิจิตอล เทคนิคการวัดความดัน ตัวส่งค่าแรงดันแบบอนุพันธ์ การวัดอัตราการไหล โดยใช้มิเตอร์แบบปฐมภูมิ แบบทุติยภูมิ และแบบพิเศษ การวัดอุณหภูมิแบบไม่ใช้ วิธีการทางไฟฟ้า แบบใช้วิธีการทางไฟฟ้าและแบบใช้รังสี ประเภทการวัดระดับ ของเหลว แบบทางตรง แบบทางอ้อม รวมถึงวิธีใช้ความดันน้ำสถิต วิธีทางไฟฟ้าและ วิธีพิเศษอื่น การศึกษาวิธีการใช้ตัว ควบคุมแบบดั้งเดิม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของรายวิชาเพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน ที่ได้รับมอบหมายตาม         ขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2 ประเมินผลจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและการนำไปปะยุกต์ใช้งาน 2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.4 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ 3.2.2 อภิปรายกลุ่ม 3.2.3 เน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน 3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 4.1.2 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
4.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่า              เชื่อถือ 4.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
4.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 4.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.1.1 มีความรู้ ความชำนาญในการใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐานได้เป็นอย่างดี 5.1.2 สามารถออกแบบวงจร วิเคราะห์ปัญหา และประยุกต์ความรู้เพื่อทา งานทางวิศวกรรมไฟฟ้าได้ดี
5.2.1 สาธิตการปฏิบัติการ 5.2.2 ปฏิบัติการตามใบงานและงานที่มอบหมาย 5.2.3 เน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
5.3.1 ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 5.3.2 ประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
6.1.1 มีความรู้ ความชำนาญในการใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐานได้เป็นอย่างดี 6.1.2 สามารถออกแบบวงจร วิเคราะห์ปัญหา และประยุกต์ความรู้เพื่อทา งานทางวิศวกรรมไฟฟ้าได้ดี
6.2.1 สาธิตการปฏิบัติการ 6.2.2 ปฏิบัติการตามใบงานและงานที่มอบหมาย 6.2.3 เน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
6.3.1 ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 6.3.2 ประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามที่มอบหมาย คุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
2 ความรู้ ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 1 3 6 10% 10% 40%
3 ทักษะทางปัญญา สอบปลายภาค การประเมินผลงาน สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา ลอดภาคการศึกษา 5%
4 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ทักษะพิสัย พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ผลการทำงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 25%
  - “เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์เบื้องต้น”,พจนาฎ สุวรรณมณี,สำนักพิมพ์ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี          (ไทย-ญี่ปุ่น) ส.ส.ท.
“เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์”, ผศ.ดร.วรพงศ์ ตั้งศรีรัตน์, สำนักพิมพ์ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ส.ส.ท. “เซนเซอร์ทรานสดิวเซอร์และการใช้งาน”,สำนักพิมพ์ smart learning “เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ในงานอุตสาหกรรม”, วิศรุต ศรีรัตนะ, สำนักพิมพ์ ซีเอ็ดยูเคชั่น
ไม่มี
http://en.wikipedia.org/wiki/Surface_acoustic_wave_sensor http://en.wikipedia.org/wiki/Touchscreen http://www.omron.com http://en.wikipedia.org/wiki/Surface_acoustic_wave_sensor http://en.wikipedia.org/wiki/Touchscreen http://www.thaiplc.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ