กีฬาเพื่อสุขภาพ

Sports for Health

1.1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับกีฬาและสุขภาพ
1.2. ปฏิบัติการปฐมพยาบาลการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
1.3. ประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อเพิ่มสมรรถภาพทางกาย
1.4. สามารถเลือกเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพตามความเหมาะสม
1.5. สามารถเลือกวิธีการจัดการแข่งขันกีฬาเพื่อสุขภาพได้
1.6. ตระหนักในคุณค่าของกิจกรรมกีฬาเพื่อสุขภาพ สามารถนำไปพัฒนาร่างกาย จิตใจอารมณ์ 
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 
 
ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การกีฬา สุขภาพส่วนบุคคล หลักการเลือกกีฬาเพื่อสุขภาพ  การเล่นกีฬาให้เหมาะสมกับวัยหรือสภาพร่างกาย การวางแผนการเล่นกีฬา พื้นฐานการเล่นกีฬา  สมรรถภาพทางกายของกีฬาชนิดต่างๆ การบาดเจ็บทางการกีฬา รูปแบบการจัดการแข่งขันกีฬาเพื่อ สุขภาพ ฝึกปฏิบัติกิจกรรมกีฬา
Enhance the knowledge relating to sports science, personal health, principles in  choosing sports for health, playing sports appropriated to the age or physical condition,  sport planning, basis of sport playing, physical fitness and sports, injuries from playing  sports, management model of competitive sports for health, and practice in sport  activities. 
ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
1. Brainstorming
2. Co – operative 
Learning
1. การแสดงออกและการมี ส่วนร่วมในกิจกรรม
2. การตอบสถานการณ์ จำลอง
3. การส่งงานตรงเวลาและ การเข้าชั้นเรียน
4. การแสดงความเคารพต่อ สถานที่
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. Team Base 
Learning
2. Jigsaw Teaching
3. Brainstorming
 
 
1. การสอบวัดความรู้
ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
Team Base Learning Jigsaw Teaching

Brainstorming
1. การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2. การนำเสนอโปรแกรม และจัดกิจกรรมกีฬาเพื่อ สุขภาพ
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม

สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. Brainstorming
2. Simulation
3. Practice
1. การแสดงออกและการมี ส่วนร่วมในกิจกรรม
2. โครงงาน
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม

สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Team Base Learning Jigsaw Teaching

Brainstorming
1. การแสดงออกและการมี ส่วนร่วมในกิจกรรม
2. การนำเสนอผลงานของที่ เชื่อมโยงกัน
ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) สามารถเลือกกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

แสดงหรือสาธิตการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
Project Based Learning

Experiential Learning
การแสดงออกและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม

2. การนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. Brainstorming 2. Team Teaching 1. Team Base Learning 2. Jigsaw Teaching 3. Team Teaching 4. Brainstorming 1. Team Base Learning 2. Jigsaw Teaching 3. Team Teaching 4. Brainstorming 1. Brainstorming 2. Team Teaching 1. Team Base Learning 2. Jigsaw Teaching 3. Brainstorming 1. Team Base Learning 2. Experiential Learning 3. Team Teaching 4. Brainstorming
1 GEBHT603 กีฬาเพื่อสุขภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1 – 8 และ 10 – 17 10 %
2 1. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 2. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1 – 8 และ 10 – 17 10 %
3 ความรู้ การสอบกลางภาค 9 10 %
4 ทักษะทางปัญญา การนำเสนองาน/การรายงาน 12 – 16 20 %
5 ความรู้ การสอบปลายภาค 17 10 %
6 ทักษะ ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสุขภาพ 1 – 8 และ 10 – 17 40 %
กีฬาเพื่อสุขภาพ สุขภาพส่วนบุคคล เวชศาสตร์ทางการกีฬา สมรรถภาพทางกาย วิทยาศาสตร์การกีฬา การจัดการแข่งขันกีฬา
2.1. http://www.healthsecrecy.com/
2.2. http://www.thaihealth.or.th/
2.3. http://hss.moph.go.th/index2.php
2.4. http://thaisportsmed.org/
2.5. http://www.sportclassic.in.th/
3.1. http://ww.sat.or.th/index.php/en/
3.2. http://resource.thaihealth.or.th/article-research
3.3. http://www.sportscience.or.th/th/
3.4. https://www.tci-thaijo.org/index.php/JSSTMU/issue/archive
3.5. http://www.hisosport.com/
3.6. http://www.sportfashion.in.th/
3.7. https://healthylifestyles.azurewebsites.net/
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน ให้นักศึกษาเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินการสอน หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนักศึกษา
ประชุมผู้สอนและนำผลการประเมินของนักศึกษามาปรับปรุงการสอน หรือ ทำวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา  เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย หรือสำหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
นำผลการประเมิน และ ข้อเสนอแนะของนักศึกษามาปรับปรุงการเรียนการสอนในครั้งต่อไป