การบัญชีต้นทุน
Cost Accounting
เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ ความสำคัญและบทบาทการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ ความหมายของต้นทุนต่าง ๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธีการบัญชีและการควบคุมเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ ระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต วิธีการบัญชีเกี่ยวกับของเสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษซาก การบัญชีต้นทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่างการบัญชีต้นทุน ผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ การปันส่วนต้นทุนการผลิตและการบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม
1. เพื่อพัฒนาความสามารถของนักศึกษาในเรื่องการศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและวิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน
2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
3. เพื่อสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรในด้านที่ 2 ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีความรู้
2. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
3. เพื่อสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรในด้านที่ 2 ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีความรู้
ศึกษาและปฏิบัติ เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ ความสำคัญและบทบาทการบัญชีต้นทุนในองค์กรธุรกิจ ความหมายของต้นทุนต่าง ๆ ระบบบัญชีที่ใช้บันทึกต้นทุน วิธีการบัญชีและการควบคุมเกี่ยวกับวัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายการผลิต ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ ระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต วิธีการบัญชีเกี่ยวกับของเสีย ของสิ้นเปลือง งานที่บกพร่อง เศษซาก การบัญชีต้นทุนมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่างการบัญชีต้นทุน ผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้ การปันส่วนต้นทุนการผลิตและการบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม
Study and practice of objective, The importance and roles of cost accounting in
business organization, Definition of various costs, An accounting system far cost collection,
accounting and control methods for raw materials, labor, and manufacturing
overhead, accounting system for job order costing and process costing,
accounting for waste, reworks and scarps; activity-based costing, variance
analysis, accounting system for joint-product and by-product, cost allocation
and standard costing
Study and practice of objective, The importance and roles of cost accounting in
business organization, Definition of various costs, An accounting system far cost collection,
accounting and control methods for raw materials, labor, and manufacturing
overhead, accounting system for job order costing and process costing,
accounting for waste, reworks and scarps; activity-based costing, variance
analysis, accounting system for joint-product and by-product, cost allocation
and standard costing
- อาจารย์ประจำรายวิชา บอกช่วงเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรก
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล จำนวน 1 คน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล จำนวน 1 คน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตอยู่กับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะและทำคุณประโยชน์แก่ส่วนรวม มีความระมัดระวังในการใช้ความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ ดังนี้
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในหลักจรรยาบรรณพื้นฐานทางวิชาชีพ มีทักษนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.2 เน้นมีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยเคารพและสามารถปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ของมหาวิทยาลัยและสังคม
1.3 สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
1.4 มีแสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบในการทำงานและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในหลักจรรยาบรรณพื้นฐานทางวิชาชีพ มีทักษนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.2 เน้นมีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยเคารพและสามารถปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ของมหาวิทยาลัยและสังคม
1.3 สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
1.4 มีแสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบในการทำงานและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในเนื้อหาวิชาเรียน
1.2.2 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา โจทย์พิเศษ
1.2.3 เรียนรู้และสอนจากกรณีศึกษา
1.2.4 นำข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันมาบรรยายและสอดแทรกเป็นตัวอย่าง
1.2.5 ให้ความสำคัญในการมีวินัยการตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
เปิดโอกาศให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละและการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
1.2.2 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา โจทย์พิเศษ
1.2.3 เรียนรู้และสอนจากกรณีศึกษา
1.2.4 นำข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันมาบรรยายและสอดแทรกเป็นตัวอย่าง
1.2.5 ให้ความสำคัญในการมีวินัยการตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
เปิดโอกาศให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละและการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.3 ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
1.3.2 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.3 ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
2.1 เน้นมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการปฏิบัติด้านบัญชีเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
2.2 เน้นมีความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยสามารถบูรณาการร่วมกับวิชาอื่นแล้วนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.3 เน้นมีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
2.3 เน้นมีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.4 เน้นสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
****สินค้าเกษตรที่น.ศ.สนใจ เพื่อนตอบอัตลักลักษณ์ของมาหาวิทยาลัย
2.2 เน้นมีความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยสามารถบูรณาการร่วมกับวิชาอื่นแล้วนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.3 เน้นมีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
2.3 เน้นมีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.4 เน้นสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
****สินค้าเกษตรที่น.ศ.สนใจ เพื่อนตอบอัตลักลักษณ์ของมาหาวิทยาลัย
2.2.1 สอนหลากหลายรูปแบบ ตามลักษณะเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิด หลักการ ทฤษฏี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบเน้นกรณีศึกษา การยกตัวอย่าง การถาม-ตอบ เป็นต้น
2.2.2 การตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
2.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อการจัดทำรายงานต้นทุนการผลิตของสินค้าเกษตรแต่ละชนเผ่าในจังหวัดลำปาง
2.2.4 การเรียนรู้จากผู้ประกอบการของเกษตรกรจริงจากการทำบัญชีต้นทุนผู้ประกอบการอาชีพฟาร์ม เช่น ฟาร์มเลี้ยงหมู ฟาร์มเลี้ยงโคนม ฟาร์มเกษตรอินทรีย์ ฟาร์มเลี้ยงเป็น ฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ ฟาร์มปลา
2.2.4 การเรียนรู้จากผู้ประกอบการของเกษตรกรจริงจากการทำบัญชีต้นทุนผู้ประกอบการอาชีพฟาร์ม เช่น ฟาร์มเลี้ยงหมู ฟาร์มเลี้ยงโคนม ฟาร์มเกษตรอินทรีย์ ฟาร์มเลี้ยงเป็น ฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ ฟาร์มปลา
2.3.1 ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค งานที่ได้รับมอบหมาย การทดสอบย่อย รายงาน การค้นคว้า และการนำเสนอ
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษาหรือโจทย์พิเศษ
2.3.3 ประเมินความรู้ของบัณฑิตโดยการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต
2.3.4 ถ่ายทอดบทเรียน ถ่ายทอดความรู้ผ่านสื่อออนไลน์ด้วยการทำคลิปผ่าน www.youtube.com
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษาหรือโจทย์พิเศษ
2.3.3 ประเมินความรู้ของบัณฑิตโดยการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต
2.3.4 ถ่ายทอดบทเรียน ถ่ายทอดความรู้ผ่านสื่อออนไลน์ด้วยการทำคลิปผ่าน www.youtube.com
3.1.1 เน้นสามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
3.1.2 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
3.1.3 เน้นมีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
3.1.4 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กันใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.1.2 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
3.1.3 เน้นมีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
3.1.4 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กันใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบจากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้นตามระดับการศึกษา โดยใช้แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง
3.2.2 สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
3.2.3 ทำโจทย์พิเศษ
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการกรณีศึกษา
3.2.2 สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
3.2.3 ทำโจทย์พิเศษ
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการกรณีศึกษา
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ระหว่างหลักการการภาษีอากรและหลักบัญชีที่รับรองทั่วไป
3.3.2 วัดผลจากการนำเสนอผลงาน การค้นคว้า การรายงานผลการศึกษา
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมจากการสะท้อนแนวคิด
3.3.4 ประเมินจากรายงานผลการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมทั้งผลการอภิปลายแสดงความคิดเห็น
3.3.2 วัดผลจากการนำเสนอผลงาน การค้นคว้า การรายงานผลการศึกษา
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมจากการสะท้อนแนวคิด
3.3.4 ประเมินจากรายงานผลการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมทั้งผลการอภิปลายแสดงความคิดเห็น
มีความอดทน ความรับผิดชอบ ทักษะทางสังคม และจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆ วัฒนธรรมองค์กร และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมงาน
มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
1) มอบหมายงานให้ทำงานร่วมกันเป็นทีม โดยการแบ่งกลุ่มการจัดทำรายงานและนำเสนอ
2) มอบหมายงานที่เกี่ยวกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3) ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่างๆ
2) มอบหมายงานที่เกี่ยวกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3) ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่างๆ
1) ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
2) ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อในกลุ่ม
3) ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
4) สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
2) ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อในกลุ่ม
3) ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
4) สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
เน้นมีความสามารถในการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งการใช้ความรู้ ความสามารถเชิงเทคนิคในการวางแผน การควบคุม การประเมินผล และการรายงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบ
นำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
มีความสามรถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีโดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพให้มีประสิทธิภาพ
นำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
มีความสามรถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีโดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพให้มีประสิทธิภาพ
1) มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข
2) มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศ
3) ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอในรูปแบบรายงาน มอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียนในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
2) มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศ
3) ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอในรูปแบบรายงาน มอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียนในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
5.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค จากการสอบข้อเขียน
5.3.2 แบบฝึดหัดในห้องเรียน
5.3.3 ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและการนำเสนอผลงานรายบุคคล
5.3.4 ประเมินจากการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายนำเสนอผลงาน
5.3.2 แบบฝึดหัดในห้องเรียน
5.3.3 ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและการนำเสนอผลงานรายบุคคล
5.3.4 ประเมินจากการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
1 | BACAC123 | การบัญชีต้นทุน |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านคุณธรรม จริยธรรม | การทดสอบย่อย 2 ครั้ง ครั้งละ 15 คะแนน การสอบกลางภาค 20 คะแนน การสอบปลายภาค 20 คะแนน | 4 และ 14 9 18 | 70% |
2 | ด้านความรู้ | รายงาน และ การนำเสนอหน้าชั้นเรียน - การจัดทำรายงานต้นทุนการผลิตของสินค้าเกษตรในจังหวัดลำปาง | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
3 | ด้านทักษะทางปัญญา | การสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียนตามข้อตกลง การส่งงาน ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความเอาใจใส่ในผลงาน พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน - การเข้าห้องเรียน - การส่งงาน (แบบฝึกหัด) /การแต่งกาย - ความสามารถในการบริหารงานที่มอบหมาย (ความสามารถในการการจัดการเล่มรายงานให้มีความสมบูรณ์แบบ (เนื้อหา และรูปแบบ) โดยแบ่งเป็นงานค้นคว้าเกี่ยวกับ การมีส่วนร่วมของหลักสูตรและมหาวิทยาลัย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
หนังสือตำราสอน รศ.สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน เพิ่มกิจกรรมเสริมทักษะ สร้างแรงบันดาลใจต่อการเรียน
1.2 ให้นักศึกษาทำแบบประเมินอาจารย์ผู้สอน
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน เพิ่มกิจกรรมเสริมทักษะ สร้างแรงบันดาลใจต่อการเรียน
1.2 ให้นักศึกษาทำแบบประเมินอาจารย์ผู้สอน
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ประเมินการสอนโดยนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4 ชั่วโมงสุดท้ายให้นักศึกษาเขียนโพสอิทคนละ 3 แผ่น 1.เขียนความในใจถึงวิชา การบัญชีต้นทุน 2.เขียนสิ่งที่ได้จากการเรียนวิชา การบัญชีต้นทุน 3.สิ่งที่อยากให้อาจารย์ผู้สอนปรับปรุงการสอนในเทอมถัดไป
2.1 ประเมินการสอนโดยนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4 ชั่วโมงสุดท้ายให้นักศึกษาเขียนโพสอิทคนละ 3 แผ่น 1.เขียนความในใจถึงวิชา การบัญชีต้นทุน 2.เขียนสิ่งที่ได้จากการเรียนวิชา การบัญชีต้นทุน 3.สิ่งที่อยากให้อาจารย์ผู้สอนปรับปรุงการสอนในเทอมถัดไป
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 ทำกิจกรรมก่อนเรียนในสัปดาห์แรก เพื่อนำไปต่อยอดในการเรียนการสอนในรายวิชาคาบต่อไป คือ - กิจกรรมเสริมทักษะ "Butterfly Hug อ้อมกอดผีเสื้อดีต่อหัวใจ"สอดแทรกความรู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความรักในตนเองและเกิดความเข้าใจในรายวิชาที่เรียน ให้ผู้เรียนรู้สึกผ่อนคลาย ไ่ม่กดดัน ไม่รู้สึกเครียดเพราะนักศึกษามีความกังวลเกี่ยวกับรายวิชาในชีพบังคับ เพราะเป็นวิชาคำนวณกลัวไม่ผ่านในรายวิชานี้ (ทำกิจกรรมและอธิบายให้น.ศ.เข้าใจใช้เวลา 10 นาที) และกิจกรรมเสริมทักษะ “ปัญญา ฐานใจ”สอดแทรกความรู้และถอดบทเรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความรักความเข้าใจในรายวิชา และเพื่อนำไปต่อยอดการสอนในคาบถัดไป (ทำกิจกรรมและอธิบายให้น.ศ.เข้าใจใช้เวลา 20 นาที)
3.2 สอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคำนวณ ทำแบบทดสอบท้ายหน่อยและแบบฝึกหัดเสริมพร้อมกับนักศึกษาทุกหน่วยเรียน ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel
3.3 สอนเพิ่มเติมฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแก้ไขโจทย์ปัญหาในองค์กรธุรกิจเช่น โรงงานอุตสาหกรรม/ ตัวอย่าง เกษตรกร การทำบัญชีต้นทุนผู้ประกอบการอาชีพฟาร์ม เช่น ฟาร์มเลี้ยงหมู ฟาร์มเลี้ยงโคนม ฟาร์มเกษตรอินทรีย์ ฟาร์มเลี้ยงเป็น ฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ ฟาร์มปลา ตั้งแต่กระบวนการแรกคือ แยกบิลที่นำมาลงบันทึกบัญชี การได้มาซึ่งกำไร ขาดทุน ผลประกอบการของเกษตรกรตัวอย่าง การจำแนกต้นทุน การคิดต้นทุนต่อหน่วย
3.1 ทำกิจกรรมก่อนเรียนในสัปดาห์แรก เพื่อนำไปต่อยอดในการเรียนการสอนในรายวิชาคาบต่อไป คือ - กิจกรรมเสริมทักษะ "Butterfly Hug อ้อมกอดผีเสื้อดีต่อหัวใจ"สอดแทรกความรู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความรักในตนเองและเกิดความเข้าใจในรายวิชาที่เรียน ให้ผู้เรียนรู้สึกผ่อนคลาย ไ่ม่กดดัน ไม่รู้สึกเครียดเพราะนักศึกษามีความกังวลเกี่ยวกับรายวิชาในชีพบังคับ เพราะเป็นวิชาคำนวณกลัวไม่ผ่านในรายวิชานี้ (ทำกิจกรรมและอธิบายให้น.ศ.เข้าใจใช้เวลา 10 นาที) และกิจกรรมเสริมทักษะ “ปัญญา ฐานใจ”สอดแทรกความรู้และถอดบทเรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความรักความเข้าใจในรายวิชา และเพื่อนำไปต่อยอดการสอนในคาบถัดไป (ทำกิจกรรมและอธิบายให้น.ศ.เข้าใจใช้เวลา 20 นาที)
3.2 สอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคำนวณ ทำแบบทดสอบท้ายหน่อยและแบบฝึกหัดเสริมพร้อมกับนักศึกษาทุกหน่วยเรียน ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel
3.3 สอนเพิ่มเติมฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแก้ไขโจทย์ปัญหาในองค์กรธุรกิจเช่น โรงงานอุตสาหกรรม/ ตัวอย่าง เกษตรกร การทำบัญชีต้นทุนผู้ประกอบการอาชีพฟาร์ม เช่น ฟาร์มเลี้ยงหมู ฟาร์มเลี้ยงโคนม ฟาร์มเกษตรอินทรีย์ ฟาร์มเลี้ยงเป็น ฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ ฟาร์มปลา ตั้งแต่กระบวนการแรกคือ แยกบิลที่นำมาลงบันทึกบัญชี การได้มาซึ่งกำไร ขาดทุน ผลประกอบการของเกษตรกรตัวอย่าง การจำแนกต้นทุน การคิดต้นทุนต่อหน่วย
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
ต่างๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
ต่างๆ