การสั่นสะเทือนเชิงกลขั้นสูง
Advanced Mechanical Vibration
เพื่อให้ผู้เรียนวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ขั้นสูงด้านการเคลื่อนที่ออสซิเลตของระบบทางกล นำไปสู่การแก้ปัญหาหรือพัฒนางานที่ซับซ้อนโดยใช้องค์ความรู้ขั้นสูง
เพื่อปรับปรุงเนื้อหารายวิชาจากเดิมเป็นรายวิชาเชิงทฤษฎีการสั่นสะเทือนขั้นสูงเป็นการประยุกต์ใข้ทฤษฎีกับระบบเชิงกล กรณีศึกษา และใช้เครื่องมือสมัยใหม่ช่วยในการวิเคราะห์และสังเคราะห์
ทบทวนทฤษฎีพื้นฐานการสั่นสะเทือน การสั่นสะเทือนของระบบไม่เป็นเชิงเส้นอย่างง่าย การพิจารณาเสถียรภาพของระบบการสั่นสะเทือนบังคับของระบบไม่เชิงเส้น หลักของการเปลี่ยนแปลง การสั่นสะเทือนทางยาวของแท่งวัสดุ การสั่นสะเทือนใน
แนวรัศมีของแท่งกลม การสั่นสะเทือนทางขวางของคาน การสั่นสะเทือนของเมมเบรน การสั่นสะเทือนของแผ่นบาง การควบคุมการสั่นสะเทือน การสั่นสะเทือนแบบสุ่ม
Review the basic theory of vibration, nonlinear vibration of simple systems, stability considerations, forced oscillations of nonlinear system, variational principles, longitudinal vibration of bars, torsional vibration of rods, lateral vibration of beams, vibration of membrane, vibration of plates, vibration control and random vibration.
Review the basic theory of vibration, nonlinear vibration of simple systems, stability considerations, forced oscillations of nonlinear system, variational principles, longitudinal vibration of bars, torsional vibration of rods, lateral vibration of beams, vibration of membrane, vibration of plates, vibration control and random vibration.
1. ให้ปรึกษากรณีมอบหมายงานแล้วนักศึกษาไม่สามารถทำได้ จะนัดให้คำปรึกษา
2. ให้คำปรึกษาในกรณ๊นักศึกษาทำวิจัยในสาขานี้ โดยจะเน้นไปการให้คำปรึกษาที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
2. ให้คำปรึกษาในกรณ๊นักศึกษาทำวิจัยในสาขานี้ โดยจะเน้นไปการให้คำปรึกษาที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
1. นิวัตร มูลปา, (2554). การสั่นสะเทือนเชิงกล, กลุ่มวิจัยกลศาสตร์ วัสดุ และการออกแบบวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, เชียงใหม่
2. Dukkipati, V. Rao, (2006). Advanced Mechanical Vibration, Alpha Science International, Inc., India.
3. Rao, S. J., (1992), Advanced Theory of Vibration, Wiley Eastern Limited, India.
2. Dukkipati, V. Rao, (2006). Advanced Mechanical Vibration, Alpha Science International, Inc., India.
3. Rao, S. J., (1992), Advanced Theory of Vibration, Wiley Eastern Limited, India.
วารสารวิจัย และหนังสือที่เกี่ยวข้อง
สื่อทางวิชาการ และวารออนไลน์
1. นักศึกษาเสนอแนวทางการนำองค์ความรู้ไปวิเคราะห์และกรณีศึกษา
2. เสนอแนวคิดและองค์ความรู้ของตนเองให้นำไปสู่การทำวิจัยด้านนี้
2. เสนอแนวคิดและองค์ความรู้ของตนเองให้นำไปสู่การทำวิจัยด้านนี้
1. มอบหมายโจทย์แบบจำลองการสั่นสะเทือนเชิงกลที่เป็นแบบจำลองระบบเต็มหน่วย เอลิเมนต์อย่างง่าย เอลิเมนต์ผสม เอลิเมนต์ทั่วไป และแบบจำลองระบบต่อเนื่อง ภายใต้การกระตุ้นทั้ง ไม่มีการกระตุ้น การกระตุ้นด้วยฮาโมนิกส์ การกระตุ้นด้วยพิริออดิก การกระตุ้นด้วยสัญญาณสุ่ม
2. นักศึกษาวิเคราะห์โจทย์ตามกระบวนการ ตั้งแต่ การสร้างสมการการเคลื่อนที่ การแก้สมการ การอภิปรายผลเฉลย
3. นักศึกษานำเสนอแนวคิดตามที่สนใจจนนำไปสู่แนวทางการวิจัย
2. นักศึกษาวิเคราะห์โจทย์ตามกระบวนการ ตั้งแต่ การสร้างสมการการเคลื่อนที่ การแก้สมการ การอภิปรายผลเฉลย
3. นักศึกษานำเสนอแนวคิดตามที่สนใจจนนำไปสู่แนวทางการวิจัย
1. ปรับปรุงการสอนให้เชื่อมโยงทฤษฎีกับการนำไปใช้ เนื่องจากเนื้อหาจะเน้นคณิตศาสตร์ขั้นสูง จึงจะเน้นการประยุกต์ควบคู่กับการให้ทฤษฎี
2. ปรับปรุงการสอนให้เข้าประลองในบางโอกาสหรือบางหัวข้อในห้องปฏิบัติการอคูสติกส์และการสั่นทะเสือน
2. ปรับปรุงการสอนให้เข้าประลองในบางโอกาสหรือบางหัวข้อในห้องปฏิบัติการอคูสติกส์และการสั่นทะเสือน
นักศึกษาจัดทำรายงานนำเสนอย้อนกลับ
จัดกลุ่มรายวิชาที่เกี่ยวข้องให้กับนักศึกษาที่สนใจกลุ่มวิชาพลศาสตร์และการควบคุม